Previous Page  8 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 8 / 62 Next Page
Page Background

เครื่องตำ

�ข้าวขนาดเล็ก

ลูกข่างโว้

เครื่องตำ

�ข้าวขนาดเล็ก

เป็นลูกข่างที่มีชื่อมาจากเสียง โว้ โว้ ของลูกข่าง การหมุนของ

ลูกข่างทำ

�ให้เกิดเสียง ซึ่งเกิดจากการที่ตัวลูกข่างมีช่องเจาะเข้าไป

ในกระบอกลูกข่าง ในขณะที่ลูกข่างหมุน อากาศจะเกิดการอัด

ผ่านช่องเล็ก ๆ นั้น ยิ่งหมุนเร็ว อากาศเข้าไปได้น้อย ก็จะเกิดเสียง

แหลม เมื่อลูกข่างหมุนช้าลง ก็จะเกิดเสียงทุ้มขึ้น

ของเล่นนี้ใช้หลัก

การขยายเสียง

อีกทั้งยังจำ

�ลองการเคลื่อนที่แบบหมุนให้เด็ก ๆ ได้

ดูอย่างใกล้ชิดอีกด้วย

เป็นนกหวีดที่ทำ

�เป็นลักษณะของท่อทำ

�จากไม้ไผ่ ที่มีคันชัก

สามารถชักเข้าและออกได้ โดยที่ปลายอีกด้านจะมีช่องสำ

�หรับเป่า

ให้อากาศเข้า ซึ่งการชักจะเป็นการกำ

�หนดความยาวของลำ

�อากาศ

ในนกหวีด ซึ่งใช้

หลักการเกิดการสั่นพ้องของเสียง

วิทยาศาสตร์จากของเล่นหลายชนิด ที่พี่ ๆ วิทยากรนำ

�มาให้

สัมผัส เช่น เครื่องตำ

�ข้าวขนาดเล็ก ของเล่นตุ๊กตาเลื่อยไม้ ขลุ่ยไม้

นกหวีดไม้ จักจั่น ของเล่นจำ

�ลองรูปแบบวัวชน ของเล่นเลียน

เสียงนกฮูก ปืนหนังยาง ปืนแก๊ปของเล่น งูกินนิ้ว จานบินไม้ไผ่

จานบินชักได้ ลูกข่างไม้ไผ่ พญาลืมงาย ของเล่นเหล่านี้สามารถ

ถ่ายทอดการใช้วิทยาศาสตร์เข้ากับการดำ

�เนินชีวิต ช่วยให้เด็ก ๆ

เข้าใจหลักการทางวิทยาศาสตร์จากของเล่นแต่ละชิ้นได้มากขึ้น

ถือเป็นการปลูกฝังเจตคติที่ดีทางวิทยาศาสตร์ได้อีกทางหนึ่ง

จากการที่เด็กเหล่านี้มีความสนใจ อยากรู้ อยากเห็น ฝึกสังเกต

เป็นการเพิ่มพูนทักษะการคิดแบบวิทยาศาสตร์นอกเหนือไปจาก

การทดลองในห้องปฏิบัติการได้อีกด้วย ตัวอย่างของเล่นไทยใน

ค่าย มีดังนี้

เป็นของเล่นที่ต้องใช้แรงกดจากนิ้วเป็นเสมือนแรงจากเท้า

ที่ทำ

�ให้คานตำ

�ข้าวกระดกขึ้นลงในครกขนาดจิ๋ว

เป็นของเล่น

ที่อธิบายหลักการทำ

�งานของคานและจุดหมุน ซึ่งเป็นความรู้

ทางฟิสิกส์

อีกทั้งยังจำ

�ลองเครื่องมือเครื่องใช้ในครัวเรือนใน

อดีตให้เด็ก ๆ ได้เรียนรู้วิถีชีวิตของชาวไทยสมัยก่อนที่อยู่ร่วม

กับการเกษตร โดยพ่อแม่ก็ตำ

�ข้าวที่ได้จากนา และทำ

�ของเล่น

ตำ

�ข้าวอันเล็กให้ลูกได้ลองตำ

�ข้าวดูบ้าง

ลูกข่างโว้

นกหวีดชัก

นกหวีดชัก

เป็นของเล่นที่เด็ก ๆ ทำ

�ด้วยตัวเองได้ โดยต่อใบพัดเข้ากับ

แกนหมุน ยึดให้แน่นด้วยกาว จากนั้นตกแต่งตามความต้องการ

ด้วยสีเมจิกให้สวยงาม หลังจากประดิษฐ์เสร็จ จานบินไม้ไผ่ก็ร่อน

จานบินไม้ไผ่ของหนูค่ะ

จานบินไม้ไผ่ หรือคอปเตอร์ไม้ไผ่

นิตยสาร สสวท.

8