Previous Page  9 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 9 / 62 Next Page
Page Background

กำ

�หมุนจะมีลักษณะคล้ายกับจานบินไม้ไผ่ แต่ว่าจะไม่

ทะยานขึ้นฟ้า แค่หมุนไปมาโดยอาศัยการชักเชือก ผ่านลูกยาง

ซึ่งเจาะเป็นช่อง แล้วสอดเชือกร้อยเข้าไปพันกับแกนหมุนของ

ใบพัดไม้ไผ่ ทำ

�ให้มีลักษณะคล้ายรอก เป็นกลไกที่จะ

ทำ

�ให้ใบพัด

หมุนได้ จากการดึงเชือก

ของเล่นชนิดนี้เด็ก ๆ จะได้อุปกรณ์คือ แท่งไม้ที่เจาะรูแล้ว

เชือก และลูกปัด ซึ่งนักเรียนจะต้องมาร้อยลูกปัดเองและมัดเข้า

กับแท่งไม้ โดยให้เชือกสองเส้นไขว้กันไว้ วิธีการเล่นคือคิดวิธีให้

ลูกปัดที่ร้อยอยู่กับเชือกคนละเส้นไปรวมอยู่กับเชือกเส้นเดียวกัน

ซึ่งกิจกรรมนี้ ทำ

�ให้เด็ก ๆ เงียบเป็นพิเศษ เพราะต่างคนต่างใช้

สมาธิใน

การแก้ปัญหา

และเมื่อเด็ก ๆ หาวิธีแก้ปัญหาได้ก็จะภาค

ภูมิใจในตนเอง รวมทั้งได้ของเล่นกับไปให้เพื่อน ๆ ที่โรงเรียนได้

ฝึกแก้ปัญหาด้วย

กำ

�หมุน

พญาลืมงาย

กำ

�หมุนของหนูทำ

�ไม่ยากเลยค่ะ

พญาลืมงาย ทำ

�ง่าย เล่นสนุก

จากกิจกรรมของเล่นภูมิปัญญาไทยนี้ ทำ

�ให้เห็นว่า

ของเล่นมีส่วนในการเสริมสร้างการเรียนรู้ของเด็กได้ โดยเฉพาะ

อย่างยิ่งภูมิปัญญาไทยที่ผ่านการคิดค้นโดยคนโบราณนั้น มี

ประโยชน์กับลูกหลานอย่างยิ่ง หวังว่าน้อง ๆ จะนำ

�ความรู้ที่

ได้จากกิจกรรมไปใช้ และร่วมกันอนุรักษ์ภูมิปัญญาเหล่านี้ไว้ไป

พร้อม ๆ กับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในระดับต่อไป

บรรณานุกรม

ประสาท เนืองเฉลิม. (2548,ตุลาคม). วิทยาศาสตร์ในของเล่นพื้นบ้านไทย.

สืบค้นเมื่อ 6 กรกฏาคม 2556, จาก

http://www.myfirstbrain.com/

teacher_view.aspx?ID=47521

สำ

�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. จานบิน-วิทยาศาสตร์

กับของเล่นไทย. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฏาคม 2556, จาก

http://www.nstda. or.th/sci-kids-menu/1281-janbin

สำ

�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. นกหวีดไม้ไผ่ -

วิทยาศาสตร์กับของเล่นไทย. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฏาคม 2556, จาก http://

www.nstda.or.th/sci-kids-menu/6418-nokweedmaipai

สำ

�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. ลูกข่างโว้ - วิทยาศาสตร์

กับของเล่นไทย. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฏาคม 2556, จาก

http://www.nstda. or.th/sci-kids-menu/6421-loogkhangwo

สุชานันท์. (2553, 12 มกราคม). กำ

�หมุน. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฏาคม 2556, จาก

http://khonglenthai.blogspot.com/2010/01/blog-post.html

สุชานันท์. (2553, 15 มกราคม). พญาลืมงาย. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฏาคม 2556,

จาก

http://khonglenthai.blogspot.com/2010/01/blog-post_15.html

เต็มห้อง เป็นที่สนุกสนานเฮฮาของเด็ก ๆ สำ

�หรับการร่อนจานบิน

ไม้ไผ่ จะใช้ฝ่ามือทั้งสองประสานกันแล้วใช้มือขวาปั่นไปข้างหน้า

ทำ

�ให้จานบินลอยขึ้นฟ้า โดยของเล่นชนิดนี้จะ

สอนเรื่องแรงดัน

อากาศที่เกิดจากการหมุน

อย่างรวดเร็วของใบพัดและลักษณะที่

ต่างกันของใบพัดทั้งสองด้านทำ

�ให้แรงดันอากาศไม่เท่ากัน ส่ง

ผลให้ใบพัดพุ่งไปข้างบน

ปีที่ 42

|

ฉบับที่ 185

|

พฤศจิกายน-ธันวาคม 2556

9