Previous Page  15 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 15 / 62 Next Page
Page Background

ประเทศไทยได้เล็งเห็นความส�

ำคัญของวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยีต่อการพัฒนาประเทศมาเป็นเวลานานแล้ว จึงได้จัด

ตั้งสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

ในปี พ.ศ. 2515 ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติสถาบันส่งเสริม

การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 2541 ซึ่งก�

ำหนด

วัตถุประสงค์ของ สสวท. ไว้ดังนี้

(1) ริเริ่ม ด�

ำเนินการ ส่งเสริม ประสาน และจัดให้มีการ

ศึกษาค้นคว้า วิจัย และพัฒนาหลักสูตร วิธีการเรียนรู้ วิธีสอน

และการประเมินผลการเรียนการสอนเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีทุกระดับการศึกษา โดยเน้นการ

ศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลัก

(2) ส่งเสริม ประสาน และจัดให้มีการพัฒนาบุคลากร

การฝึกอบรมครู อาจารย์ นักเรียน นิสิต และนักศึกษาเกี่ยว

กับการเรียนการสอนและการค้นคว้าวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี

(3) ส่งเสริม ประสาน และจัดให้มีการค้นคว้า วิจัย ปรับปรุง

และจัดท�

ำแบบเรียน แบบฝึกหัด เอกสารทางวิชาการ และสื่อ

การเรียนการสอนทุกประเภท ตลอดทั้งประดิษฐ์อุปกรณ์เกี่ยว

กับวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี

(4) ส่งเสริมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพและการประเมิน

มาตรฐานการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ

เทคโนโลยีในสถานศึกษา

(5) พัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางด้าน

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ตลอดทั้งการส่งเสริม

การผลิตครู อาจารย์ที่มีความสามารถพิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี

(6) ให้ค�

ำปรึกษาแนะน�

ำแก่กระทรวง ทบวง กรม ส่วน

ราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น หน่วยงานอื่นของรัฐ หรือหน่วย

งานของเอกชนที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษา หรือสถาน

ศึกษา เฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวกับอ�

ำนาจหน้าที่ตาม (1) ถึง (5)

ตลอดระยะเวลาสี่สิบปีเศษ สสวท. ได้ปฏิบัติงานอย่างเข้ม

แข็ง ประสบผลส�

ำเร็จตามวัตถุประสงค์อย่างครบถ้วนและต่อ

เนื่อง โดยสังเขป สสวท. ได้พัฒนาหลักสูตร คู่มือ ต�

ำราและ

อุปกรณ์ประกอบการเรียนสาระวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์

และเทคโนโลยี ได้ร่วมการประเมินผลการเรียนในระดับนานาชาติ

ได้ผลิตและพัฒนาครูผู้มีความสามารถ ได้สร้างผู้มีความสามารถ

พิเศษด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บุคคลเหล่านี้ได้เป็น

ก�

ำลังส�

ำคัญในหน่วยงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของ

รัฐ สถาบันอุดมศึกษา ศูนย์วิจัยและพัฒนา และโรงเรียนสาย

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ท�

ำไมประเทศไทยต้องใช้สะเต็มศึกษา?

ประเทศไทยอาจมีเหตุผลความจ�

ำเป็นต่าง ๆ ที่ต้องปรับ

เปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น

นักเรียนที่สนใจเรียนสาขาวิทยาศาสตร์น้อยลง เนื่องจาก

เป็นการเรียนที่ยาก แต่สาขาศิลปศาสตร์เรียนได้ง่ายกว่า งาน

ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหายากกว่า ได้ค่าตอบแทนน้อย

กว่างานด้านอื่น ๆ เช่น บันเทิง ธุรกิจ ท่องเที่ยว แฟชั่น หรือ

การกีฬา แต่ผู้เขียนมีความเห็นว่า เหตุผลหลักที่ประเทศไทย

ต้องเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมา

เป็นแบบสะเต็มศึกษามีดังต่อไปนี้

1. ความรู้และความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ของเยาวชนไทยยังด้อยกว่านานาชาติ

แม้ สสวท. จะได้ด�

ำเนิน

งานตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งแล้วก็ตาม แต่ก็เป็นที่ทราบ

กันว่าประเทศไทยยังมีขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยีที่ด้อยกว่าหลายประเทศ เช่น เกาหลี สิงคโปร์และ

จีน ถึงแม้นักเรียนไทยสามารถชิงเหรียญรางวัลในการแข่งขัน

โอลิมปิกวิชาการ แต่การทดสอบความรู้และทักษะด้านการอ่าน

วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์โดย PISA และ TIMSS แสดงให้

เห็นว่าเยาวชนไทยยังแพ้เยาวชนอีกหลายประเทศ สาเหตุหลัก

เกิดจากการเรียนแบบท่องจ�

ำ แต่ขาดทักษะในการคิดวิเคราะห์

และสังเคราะห์

2. ประเทศไทยต้องการหลุดพ้นจากการเป็นประเทศที่มีราย

ได้ปานกลาง

ในอดีตประเทศไทยเคยเป็นประเทศที่มีรายได้ต�่

ปีที่ 42

|

ฉบับที่ 185

|

พฤศจิกายน-ธันวาคม 2556

15