

ภาพที่ 2 ภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงฤดูฝน
วิธีปฏิบัติกิจกรรมที่ 1
1. ให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลแผนที่อากาศ และภาพถ่าย
ดาวเทียมจากเว็บไซต์หรือแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
เช่น
http://www.thaiwater.net/web/index.php/weatherinfo.html http://www.tmd.go.th/ดังตัวอย่างในภาพที่ 1 และ 2 ซึ่งเป็นข้อมูลของวันและ
เวลาเดียวกัน พร้อมค�
ำพยากรณ์ โดยหาข้อมูลดังกล่าวให้ครบ
ทั้ง 3 ฤดู และศึกษาความรู้เรื่องการแปลความหมายสัญลักษณ์
ลมฟ้าอากาศที่ส�
ำคัญ ดังตารางที่ 1
สัญลักษณ์
ความหมาย
L
หย่อมความกดอากาศต�่
ำ
H
บริเวณความกดอากาศสูง
D
พายุดีเปรสชั่น
พายุโซนร้อน
พายุใต้ฝุ่น
แนวปะทะอากาศเย็น
แนวปะทะอากาศอุ่น
แนวปะทะอากาศร่วม
แนวปะทะอากาศคงที่
ตารางที่ 1 สัญลักษณ์อากาศที่ส�
ำคัญ
แล้วร่วมกันอภิปรายในประเด็นที่สนใจ เช่น
- จากข้อมูลในแผนที่อากาศและภาพถ่ายดาวเทียมใน
แต่ละฤดู มีสัญลักษณ์อากาศหรือลักษณะลมฟ้าอากาศใดที่
ปรากฏชัดเจน
- หย่อมความกดอากาศต�่
ำ ส่งผลต่อลักษณะอากาศ
อย่างไร
- บริเวณความกดอากาศสูง ส่งผลต่อลักษณะอากาศ
อย่างไร
- แนวปะทะอากาศ ส่งผลต่อลักษณะอากาศอย่างไร
- ร่องมรสุม ส่งผลต่อลักษณะอากาศอย่างไร
2. หลังจากที่นักเรียนมีความรู้พื้นฐานและรู้จักแหล่งข้อมูล
ที่จ�
ำเป็นแล้ว ให้ครูยกตัวอย่างสถานการณ์
โดยให้ผู้เรียนน�
ำ
ความรู้ในส่วนของกระบวนการทางวิศวกรรม และความรู้ทาง
คณิตศาสตร์มาใช้ในการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา เช่น
สถานการณ์ :
ให้นักเรียนวางแผนจัดโปรแกรมการท่อง
เที่ยว 1-2 วัน ในจังหวัดของตัวเอง จ�
ำนวน 2 โปรแกรม แล้ว
หาวิธีการประเมินว่าโปรแกรมใดได้รับการสนใจมากที่สุด แล้ว
ท�
ำสรุปรายงานโดยมีประเด็นส�
ำคัญ 3 ประเด็น คือ ข้อมูล
ทางอุตุนิยมวิทยาและหรือข้อมูลทางธรณีวิทยาที่ใช้สนับสนุน
แนวคิดที่ใช้ในการจัดโปรแกรม รูปแบบโบรชัวร์/แผ่นพับ ที่ได้
รับการคัดเลือกพร้อมผลการประเมิน
ในการปฏิบัติงานนี้ นักเรียนสามารถน�
ำความรู้จากหลาย
วิชามาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการก�
ำหนดกรอบความคิด ทั้งความ
รู้ทางวิทยาศาสตร์แขนงอื่น เช่น ความรู้ทางธรณีวิทยา ความรู้
ทางเทคโนโลยีภาพถ่ายดาวเทียม (Google Earth/GoogleMap/
Google Street View) ดังตัวอย่างในภาพที่ 3 มาร่วมใช้เพื่อ
เลือกเส้นทาง หรือก�
ำหนดจุดพัก ความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์
มาใช้ในการออกแบบโบรชัวร์ น�
ำความรู้ทางคณิตศาสตร์มาใช้
ในการค�
ำนวณประมาณการค่าใช้จ่ายของแต่ละโปรแกรมการ
ท่องเที่ยวที่ได้คิดขึ้น ใช้วิธีการทางสถิติเบื้องต้นมาช่วยในการ
ประเมินคุณภาพหรือความสนใจของลูกค้าเพื่อเลือกชิ้นงานที่
ดีที่สุดมาน�
ำเสนอ และใช้กระบวนการทางวิศวกรรมมาวางแผน
การด�
ำเนินงานอย่างเป็นระบบ ซึ่งสามารถสรุปความรู้ที่น�
ำมา
ใช้ในการบูรณาการ ดังแสดงในตารางที่ 2
ปีที่ 42
|
ฉบับที่ 185
|
พฤศจิกายน-ธันวาคม 2556
21