Previous Page  16 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 16 / 62 Next Page
Page Background

แต่ปัจจุบันไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง โดยการพัฒนา

ที่อาศัยค่าแรงราคาถูกและทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่มากมาย

ในประเทศ ในอนาคตข้างหน้าค่าแรงของไทยก�

ำลังเพิ่มสูงขึ้น

และทรัพยากรเริ่มขาดแคลน ดังนั้นการที่ประเทศไทยยกระดับ

รายได้ให้สูงขึ้นอีก ในปี พ.ศ. 2555 ส�

ำนักงานคณะกรรมการ

พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้น�

ำเสนอการบูรณา

การยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy)

เพื่อให้ไทยหลุด

พ้นจากการเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลางไทยจะต้องเพิ่มขีด

ความสามารถในการแข่งขัน ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี และทักษะในการสร้างนวัตกรรมเป็นสิ่งที่คนรุ่นใหม่

จ�

ำเป็นต้องได้รับการพัฒนา

3. ก�

ำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไม่สามารถ

รองรับการแข่งขันในอนาคต

ข้อมูลจากส�

ำนักงานคณะกรรมการ

นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติแสดงว่า

ในปี 2554 ประเทศไทยมีก�

ำลังแรงงาน 39 ล้านคน แต่มีเพียง

3 ล้านคน หรือต�่

ำกว่าร้อยละสิบของแรงงานทั้งหมด ที่เป็น

ก�

ำลังคนที่ท�

ำงานโดยอาศัยความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยีหรือก�

ำลังคนด้านสะเต็ม (STEM workforce)

ในจ�

ำนวนนี้ร้อยละ 89 ส�

ำเร็จการศึกษาต�่

ำกว่าปริญญาตรี

สะเต็มศึกษาคืออะไร?

สะเต็มศึกษา

คือวิธีการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์

เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ในทุกระดับชั้น ตั้งแต่อนุบาล ประถม

ศึกษา มัธยมศึกษา ไปจนถึงอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา โดย

ไม่เน้นเพียงการท่องจ�

ำสูตรหรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์หรือ

สมการคณิตศาสตร์เพียงอย่างเดียว แต่ สะเต็มศึกษาจะฝึกให้

ผู้เรียนรู้จักวิธีคิด การตั้งค�

ำถาม แก้ปัญหาและสร้างทักษะการ

หาข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อค้นพบใหม่ ๆ ท�

ำให้ผู้เรียนรู้จัก

น�

ำองค์ความรู้จากวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สาขาต่าง ๆ

มาบูรณาการกัน เพื่อมุ่งแก้ปัญหาส�

ำคัญ ๆ ที่พบในชีวิตจริง

ดังนั้น สะเต็มศึกษา จึงมักเน้นการท�

ำโครงการแก้ปัญหาหรือ

สร้าง

นวัตกรรม

ใหม่ ๆ โดยวิธีบูรณาการความรู้วิทยาศาสตร์และ

คณิตศาสตร์ก่อให้เกิดเทคโนโลยีที่ใช้ประโยชน์ ส่วนวิศวกรรม

ในสะเต็มศึกษาระดับโรงเรียนหมายถึงการสร้าง การดัดแปลง

การท�

ำต้นแบบ รวมถึงการออกแบบกระบวนการผลิตหรือการ

บริการโดยการประยุกต์ความรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ

เทคโนโลยี ไม่ได้จ�

ำกัดเฉพาะวิศวกรรมสาขาที่เรียนในคณะ

วิศวกรรมศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษาเท่านั้น

อนึ่งค�

ำว่า สะเต็ม (STEM) เป็นค�

ำย่อที่มาจาก

S

cience

T

echnology

E

ngineering &

M

athematics หลายประเทศนิยม

ใช้ค�

ำนี้

[1]

แต่ก็มีบางคนอาจเติม A (Arts) กลายเป็น STEAM

การปรับเปลี่ยนสู่สะเต็มศึกษาต้องท�

ำอย่างไร?

เนื่องจากสะเต็มศึกษาเป็นวิธีใหม่ในการเรียนการสอน

วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ ดังนั้นจึงจ�

ำเป็นต้อง

ปรับหลักสูตรในสามมิติ

[2]

กล่าวคือ มิติสาระจะเน้นความรู้ที่

จ�

ำเป็นและทันสมัย และต้องแบ่งเวลาให้มิติการปฏิบัติในการคิด

แก้ปัญหา การค้นคว้าหาข้อมูลและการทดลองทดสอบที่จะน�

ไปสู่ความรู้ใหม่หรือความจริงใหม่ ส่วนมิติบูรณาการสาระร่วม

ระหว่างวิชาแล้วท�

ำโครงงานสร้างผลงานเชิงวิศวกรรมใหม่หรือ

นวัตกรรมที่ใช้ เมื่อมีการปรับหลักสูตร ครูก็ต้องปรับวิธีการสอน

เนื้อหาสาระและสอนการคิดและการปฏิบัติแบบนักวิทยาศาสตร์

การประเมินผลการเรียนก็ต้องประเมินทั้งสาระความรู้และทักษะ

ในการคิดวิเคราะห์และการปฏิบัติแบบนักวิทยาศาสตร์ การ

ปรับทั้งสามประการก็ยังต้องท�

ำให้สอดคล้องกับสถานะของผู้

เรียน ระดับชั้นเรียนและสภาวะแวดล้อมของสถานศึกษาด้วย

นอกจากนี้ยังเตรียมผู้ส�

ำเร็จการศึกษาที่ต้องท�

ำงาน หรือศึกษา

ต่อในสภาวะเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมในอนาคต

ทูตสะเต็มจ�

ำเป็นต่อการด�

ำเนินสะเต็มศึกษา?

เนื่องจากสะเต็มศึกษาจะเน้นให้ผู้ส�

ำเร็จการศึกษาสามารถน�

ความรู้และทักษะการคิด วิเคราะห์แบบนักวิทยาศาสตร์และนัก

เทคโนโลยี ไปใช้ในชีวิตจริง การประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ

ดังนั้นจึงจ�

ำเป็นต้องมีความเชื่อมโยงกับสถานประกอบการและ

หน่วยงานที่จะรับผู้ส�

ำเร็จการศึกษาภาคบังคับ ภาคอาชีวศึกษา

าษกึศม็ตเะส

การบูรณาการในกลุ

รตสาศติณคะลแ

รตสาศายทิวาชิวม

25/11/56

Dr. Montri Chulavatnatol

ฟ

สิกส

ติณค

ชีวะ

เคมี

ติณค

เคมี

ชีวะ

ฟ

สิกส

มรรกตัวน

มหใ

ฑณัภติลผ

กระบวนการใหม

บริการใหม

ธุ

มหใจิกร

ผู

ประกอบการใหม

สังคมใหม

11/09/56

Dr. Montri Chulavatnatol

รตูสกัลห

ครู

นิมเะรปราก

นยีรเกัน

าษกึศกัน

จิกฐษรศเ

มคงัส

ตูท

ม็ตเะส

ตูท

ม็ตเะส

ตูท

ม็ตเะส

ตูท

ม็ตเะส

นิตยสาร สสวท.

16