Previous Page  22 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 22 / 62 Next Page
Page Background

ตารางที่ 2 แสดงการวิเคราะห์องค์ความรู้ต่าง ๆ ที่น�

ำมา

ใช้ในการบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษา

รายวิชา

ความรู้หรือกระบวนการเรียนรู้

Science

การพยากรณ์อากาศ, ข้อมูลทางธรณีวิทยา

Technology การใช้ข้อมูลจากดาวเทียม, การออกแบบสิ่งพิมพ์

Engineering กระบวนการทางวิศวกรรม/เทคโนโลยี

Mathematics การน�

ำเสนอข้อมูลด้วยกราฟ/แผนภูมิ,

การค�

ำนวณประมาณการค่าใช้จ่าย, สถิติเบื้องต้น

ถ้าต้องการวิเคราะห์ว่าการออกแบบการจัดการเรียนรู้ใน

ลักษณะนี้ จะเป็นการใช้แนวทางสะเต็มศึกษาในรูปแบบใด ซึ่ง

ผู้สอนคิดว่าสามารถท�

ำได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับข้อตกลงของ

โรงเรียน เช่น

1. ถ้าต้องการใช้รูปแบบการเรียนแบบสอดคล้อง ผู้สอน

แต่ละวิชาที่เกี่ยวข้องควรวางแผนร่วมกันว่า แต่ละรายวิชาจะ

สอนหัวข้อใดที่จะท�

ำให้นักเรียนสามารถน�

ำความรู้เหล่านั้นมา

ประยุกต์ใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ที่ก�

ำหนด ซึ่งอาจก�

ำหนด

สถานการณ์นั้นในวิชาหลักวิชาใดวิชาหนึ่ง เช่น วิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์ หรือเทคโนโลยี

2. ถ้าต้องการใช้รูปแบบการเรียนแบบแทรกเสริม ผู้ที่

รับผิดชอบในการสอนจะเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง

จนเพียงพอที่นักเรียนจะน�

ำมาใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ที่ก�

ำหนด

บรรณานุกรม

Bybee, Rodger W. (2013).

The case for STEM Education: Challenges and

Opportunities

. Arlington: National Science Teachers Association.

ภาพถ่ายแผนที่จากดาวเทียม. สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2556, จาก

https://maps.google.co.th/maps?q=%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0

%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88&ie=UTF-8&ei=

pop4Uv2ZLYGtrAewn4CQCw&ved=0CAgQ_AUoAg

ภาพแผนที่อากาศและภาพถ่ายดาวเทียม. สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2556, จาก

http://www.thaiwater.net/web/index.php/weatherinfo.html

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ. (2554).

หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

ดังนั้นผู้สอนจะต้องเตรียมความพร้อมล่วงหน้าเป็นอย่างดี เช่น

ความรู้ที่จะน�

ำมาสอน ล�

ำดับการถ่ายทอดองค์ความรู้

จากที่กล่าวมาทั้งหมด สะเต็มศึกษาอาจไม่ใช่แนวทางเดียว

ที่จะช่วยแก้ปัญหาทางการศึกษาไทยได้ทั้งหมด แต่ผู้เขียนเชื่อ

ว่าน่าจะช่วยแก้ปัญหาหนึ่งที่สังคมทุกวันนี้สะท้อนว่า บุคลากร

รุ่นใหม่ในวัยท�

ำงานนั้นมีความสามารถแก้ปัญหาหรือทักษะการ

ปฏิบัติงานที่ลดลงได้ ถ้าทุกคนมัวแต่กลัวว่าแนวคิดนี้จะดีหรือ

จะช่วยได้จริงหรือ โปรดตั้งค�

ำถามควบคู่ไปกับการวางแผนหา

ค�

ำตอบ ผู้เขียนคิดว่าท่านคงไม่เสียเวลาเปล่า อย่างน้อยท่าน

ก็ได้มีโอกาสฝึกการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบให้กับเด็กรุ่นใหม่

ที่จะเติบโตต่อไปในอนาคต

ภาพที่ 3 แผนที่ ภาพถ่ายดาวเทียม และข้อมูลสภาพอากาศ ที่น�

ำมาประยุกต์ใช้

นิตยสาร สสวท.

22