Previous Page  24 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 24 / 62 Next Page
Page Background

1. หุ่นยนต์ชนิดที่ติดตั้งอยู่กับที่ (fixed robot)

เป็นหุ่นยนต์

ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปไหนด้วยตนเอง มีลักษณะเป็นแขนกล

สามารถขยับและเคลื่อนไหวได้เฉพาะแต่ละข้อต่อภายในตัวเอง

เท่านั้น มักน�

ำไปใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงงานประกอบ

รถยนต์

2. หุ่นยนต์ชนิดที่เคลื่อนที่ได้ (mobile robot)

หุ่นยนต์

ประเภทนี้สามารถเคลื่อนที่ไปยังที่ต่าง ๆ ได้ด้วยตัวเอง โดย

การใช้ล้อหรือขา ซึ่งหุ่นยนต์ประเภทนี้ ปัจจุบันยังเป็นงานวิจัย

ที่ท�

ำการศึกษาอยู่ภายในห้องทดลอง เพื่อพัฒนาออกมาใช้งาน

ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น หุ่นยนต์ส�

ำรวจดาวอังคาร หุ่นยนต์เสิร์ฟ

อาหาร

ท�

ำไมต้องเรียนสะเต็มผ่านหุ่นยนต์ อย่างแรกคือตัวหุ่นยนต์เอง

ก็เป็นนวัตกรรมที่ได้มาจากแนวคิดการบูรณาการของสะเต็ม เป็น

สื่อที่จับต้องได้อีกตัวหนึ่งที่ช่วยดึงดูดให้นักเรียนเกิดความสนใจ

อยากที่จะลงมือสร้างและควบคุมหุ่นยนต์ด้วยตนเอง จนน�

ำไปสู่

รูปแบบการเรียนที่ท�

ำให้นักเรียนได้ความรู้ทางทฤษฎี ได้ทักษะ

จากการปฏิบัติไปพร้อมกัน และความเพลิดเพลิน สนุกสนาน

ด้วย จึงถือว่าเป็นการผสมผสานภาคทฤษฎีและปฏิบัติไปพร้อม

กันอย่างแนบเนียน

นอกจากนั้น การเรียน

สะเต็มโดยใช้หุ่นยนต์ยัง

สามารถบูรณาการความรู้

ต่าง ๆ ในหลักสูตรที่มีอยู่เดิม

หรือหากมีการปรับเปลี่ยน

หลักสูตรใหม่ ๆ รูปแบบนี้ก็

ยังสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ

ด้านทักษะการแก้ปัญหาของ

นักเรียนได้เป็นอย่างดี รวมทั้งยังช่วยส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

ของนักเรียน ในการสร้างนวัตกรรมหุ่นยนต์ให้ท�

ำงานตอบสนอง

ความต้องการหรือแก้ปัญหาในชีวิตประจ�

ำวัน ของมนุษย์ได้เช่นกัน

การเตรียมพร้อมสู่กิจกรรม

ครูจ�

ำเป็นต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์ ข้อมูล และสภาพแวดล้อม

ต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียน เช่น เตรียมเนื้อหาที่

จะบรรยาย (class lecture) หนังสือ (text book) การน�

ำเสนอ

(presentation) วีดิทัศน์ (video) เกม (game) หรืออุปกรณ์ที่

จับต้องได้ (hands-on) และที่ส�

ำคัญต้องจัดเตรียมชุดอุปกรณ์

หุ่นยนต์ส�

ำหรับการเรียนการสอนในจ�

ำนวนที่เพียงพอต่อนักเรียน

(แนะน�

ำให้ใช้หุ่นยนต์ 1 ตัวต่อผู้เรียน 2-3 คน) ปัจจุบันมีผู้ผลิต

อุปกรณ์หุ่นยนต์ประเภทนี้ออกสู่ท้องตลาดเป็นจ�

ำนวนมาก ซึ่ง

ในอุปกรณ์หุ่นยนต์ 1 ชุด มักจะประกอบไปด้วยสมองกล หรือ

ไมโครครอนโทรลเลอร์ มอเตอร์ส�

ำหรับขับเคลื่อน อุปกรณ์ที่ใช้

ประกอบเป็นโครงสร้างของหุ่นยนต์ สายสัญญาณส�

ำหรับเชื่อมต่อ

เพื่อรับส่งชุดค�

ำสั่งจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไปยังหุ่นยนต์ รวมไป

ถึงเอกสารประกอบการเขียนชุดค�

ำสั่ง ซอฟต์แวร์ที่ใช้เขียนค�

ำสั่ง

หุ่นยนต์แต่ละตัวจะท�

ำงานภายใต้ชุดค�

ำสั่งจากภาษาคอมพิวเตอร์

ที่แตกต่างกันไป มีทั้งภาษาเบสิก (Basic) โลโก้ (Logo) ซี (C)

เป็นต้น โดยครูต้องท�

ำหน้าที่เลือกหาอุปกรณ์หุ่นยนต์ที่ใช้ภาษา

คอมพิวเตอร์ตามความถนัดของนักเรียน

ลักษณะการจัดกิจกรรม

ครูต้องอธิบายถึงลักษณะการสั่งงานให้หุ่นยนต์ท�

ำงาน

ต่าง ๆ ตามที่เราต้องการ ไม่ว่าจะเป็นการสั่งให้หุ่นยนต์เดิน

ไปหยิบสิ่งของ เดินไปตรวจสอบสิ่งกีดขวาง หรือเดินไปยังจุด

หมายปลายทางที่ต้องการ โดยเริ่มจากการเขียนชุดค�

ำสั่ง (เขียน

โปรแกรมคอมพิวเตอร์) ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วส่งชุดค�

ำสั่ง

นั้นไปที่หุ่นยนต์ผ่านสายส�

ำหรับเชื่อมโยงข้อมูล จากนั้นจึงกด

สวิตช์ให้หุ่นยนต์ปฏิบัติตามค�

ำสั่งต่าง ๆ อย่างอัตโนมัติ เมื่อเห็น

หลักการท�

ำงานอย่างง่ายไปแล้ว จึงเริ่มให้นักเรียนได้ใช้ความ

คิดสร้างสรรค์ในการออกแบบหน้าตาของหุ่นยนต์ ออกแบบ

ลักษณะการท�

ำงานของชุดค�

ำสั่งที่จะสั่งหุ่นยนต์ท�

ำงาน แล้วลงมือ

ชุดค�

ำสั่งที่เขียนในคอมพิวเตอร์

สายสัญญาณส�

ำหรับดาวน์โหลด

ชุดค�

ำสั่งในคอมพิวเตอร์สู่หุ่นยนต์

หุ่นยนต์

(ที่มา :

www.inex.co.th

)

นิตยสาร สสวท.

24