

ระดับประถมศึกษา คือ เราจะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ
สะเต็มศึกษาอย่างไร กิจกรรมสะเต็มศึกษาระดับประถมศึกษา
ที่มีองค์ประกอบ ครบทั้ง 4 องค์ประกอบมีลักษณะเป็นอย่างไร
บทความนี้จะน�
ำเสนอตัวอย่างกิจกรรมสะเต็มศึกษา ส�
ำหรับ
นักเรียนระดับประถมศึกษาผ่านการท�
ำ
กบโอริงามิ
โดยก่อน
เริ่มท�
ำกิจกรรมนี้ นักเรียนจะต้องมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่อง
มวล
และ
การเคลื่อนที่
ซึ่งจะเป็นข้อมูลที่ส�
ำคัญเพื่อน�
ำไปสู่การ
ออกแบบกบโอริงามิ
การจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษาด้วยกบโอริงามิ
❖
❖
ขั้นสร้างความสนใจและก�
ำหนดปัญหา
ครูให้นักเรียนพับกบโอริงามิ 2 ตัว ที่มีขนาดต่างกัน ซึ่ง
ขั้นตอนการพับแสดงในรูปที่ 1
รูปที่ 1 วิธีพับกบโอริงามิ
(ที่มา :
http://nanniesheartland.blogspot.com/2012/09/jumping-frogs.html)
ศานิกานต์ เสนีวงศ์
นักวิชาการ สาขาวิทยาศาสตร์ประถมศึกษา สสวท
. / e-mail:
ssane@ipst.ac.thเรื่องเด่นประจำ
�ฉบับ
การจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษา
ด้วยกบโอริงามิ
หลายคนคงสงสัยว่า STEM คืออะไร มีความหมายว่า
อย่างไร STEM เป็นค�
ำที่มาจากการน�
ำพยัญชนะตัวแรกของค�
ำว่า
S
cience (วิทยาศาสตร์)
T
echnology (เทคโนโลยี)
E
ngineering
(วิศวกรรมศาสตร์) และ
M
athematics (คณิตศาสตร์) มารวม
กัน ดังนั้นจึงใช้พยัญชนะภาษาอังกฤษที่เป็นตัวใหญ่ทั้ง 4 ตัว
American Association for the Advancement of Science
(AAAS) ได้ระบุไว้ว่าวิศวกรรมศาสตร์ คือ การออกแบบ (AAAS,
1989, หน้า 40-41) ขณะที่ The National Research Coun�-
cil (NRC) ได้ให้ความหมายของค�
ำว่าวิศวกรรมศาสตร์และ
เทคโนโลยีไว้ใน A Framework for K-12 Science Education
ว่า วิศวกรรมศาสตร์คือการน�
ำเอาความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ
มาออกแบบวิธีการ หรือกระบวนการ เพื่อตอบสนองความ
ต้องการของมนุษย์ (NRC, 2012, หน้า 202) ส่วนเทคโนโลยี
นั้นคือผลผลิตจากกระบวนการวิศวกรรมศาสตร์ หรือก็คือ
สิ่งประดิษฐ์ที่ได้จากกระบวนการคิดค้นนั่นเอง (NRC, 2012,
หน้า 12) ดังนั้นสะเต็มศึกษาจึงเป็นแนวการจัดการศึกษาที่เน้น
การบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และ
คณิตศาสตร์ โดยเน้นการน�
ำความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาในชีวิต
จริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อ
การด�
ำเนินชีวิตและอาชีพ
ค�
ำถามต่อมาที่อาจเกิดขึ้นกับครูผู้สอนโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
การเรียนการสอนในอดีตที่ผ่านมา รายวิชาวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีจะแยกออก
จากกันอย่างชัดเจน ท�
ำให้นักเรียนมองไม่เห็นถึงความเชื่อม
โยงในแต่ละรายวิชา และไม่สามารถน�
ำความรู้มาประยุกต์
ใช้ในชีวิตประจ�
ำวันได้ นักการศึกษาจึงมีความคิดที่จะ
บูรณาการรายวิชาต่าง ๆ เหล่านี้เข้าด้วยกันและเกิดเป็น
แนวคิดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา (STEM Education)
นิตยสาร สสวท.
30