

อุปการ จีระพันธุ
รักษาการผู้ช่วยผู้อ�
ำนวยการ สสวท. / e-mail :
ojeer@ipst.ac.thเรื่องเด่นประจำ
�ฉบับ
สะเต็มศึกษา
ของใหม่
ส�
ำหรับประเทศไทย
หรือไม่
อันที่จริง STEM ไม่ใช่ของใหม่เพราะ T และ E (Technology
และ Engineering) ได้ปรากฏเป็นทางการครั้งแรกใน หลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 โดยใช้ชื่อว่า
การ
ออกแบบและเทคโนโลยี
(ตามแนวทางของสหราชอาณาจักร
ที่ต้องการเน้นการออกแบบจึงน�
ำค�
ำว่า Design มาเน้นไว้ข้าง
หน้า) ซึ่งก่อนการประกาศใช้หลักสูตรก็ใช้ชื่อสาระว่า เทคโนโลยี
อยู่ในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เดิม) ภายหลัง
ถูกย้ายมาอยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานพื้นฐานอาชีพ
(เดิม) หรือกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
(ใหม่) และถูกเปลี่ยนชื่อจาก เทคโนโลยี เป็น การออกแบบ
และเทคโนโลยี โดยได้ให้นิยามของเทคโนโลยีว่าเป็นการน�
ำ
ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรมาสร้างสิ่งของเครื่องใช้ หรือวิธี
การโดย
ผ่านกระบวนการเพื่อแก้ปัญหาสนองความต้องการหรือ
เพิ่มความสามารถในการท�
ำงานของมนุษย์
หลังจากได้ขยายความค�
ำว่า
เทคโนโลยี
ไปแล้ว อาจมี
ค�
ำถามว่า Engineering อยู่ที่ไหน ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้น
ฐาน พุทธศักราช 2544 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น
ฐาน พุทธศักราช 2551 นอกจากได้ให้นิยามของเทคโนโลยีแล้ว
ยังได้น�
ำกระบวนการเทคโนโลยี หรือ Technological Process
มาใช้กับการเรียนการสอน ซึ่งของประเทศไทยนี้พัฒนามาจาก
Technological Design Process ซึ่งได้รวมกระบวนการทาง
วิศวกรรมเข้าไปด้วยแล้ว เพราะผู้ร่วมร่างหลักสูตรไม่ต้องการ
ให้คนตระหนกตกใจกับค�
ำว่า วิศวกรรม หรือ Engineering และ
ทุกวันนี้ในหลักสูตรหลัก ๆ ของเทคโนโลยีที่สหรัฐอเมริกา ซึ่งใช้
ของ ITEA (International Technology Educators Association)
หลักสูตรก็ยังเป็น Standards for Technological Literacy
ยังไม่มีการก�
ำหนดใหม่ เพียงแต่ในการพิมพ์ปรับปรุงครั้งหลัง ๆ
จะสอดแทรกหลักการทางวิศวกรรมเข้าไปถึงแม้สมาคมจะเปลี่ยน
ชื่อไปเป็น International Technology and Engineering
Educators Association หรือ ITEEA แล้วก็ตาม
ช่วงนี้สะเต็มศึกษาเป็นกระแสไปทั่วโลก เมื่อเข้ามาในวงการ
ศึกษาของประเทศไทย หลายคนโดยเฉพาะครูผู้สอนและ
โรงเรียน จึงมีความวิตกกังวลว่า จะต้องรับภาระเพิ่มเติม
ที่เป็นของใหม่อีกแล้ว
นิตยสาร สสวท.
32