

บรรณานุกรม
American Association for the Advancement of Science (AAAS). (1989).
Science for all American: A project 2061 report on goals in science,
mathematics, and technology
. Washington, DC: AAAS.
Eichinger, John. (2009).
Activities linking Science with Mathematics, grade
K-4.
VA: NSTA Press.
The National Research Council (NRC). (2012).
A framework for K-12
science education: Practices, crosscutting concepts, and core idea.
Washington, DC: National Academies Press.
เมื่อนักเรียน
พับเสร็จแล้วให้
นักเรียนสังเกตกบ
ทั้ง 2 ตัว แล้วคาด
คะเนและให้เหตุผล
ว่ากบตัวใดน่าจะกระโดดได้ไกลกว่ากัน
จากนั้นให้นักเรียนท�
ำให้กบโอริงามิกระโดดด้วยวิธีการ ดังรูปที่ 2
รูปที่ 2 การท�
ำให้กบโอริงามิกระโดด
(ที่มา :
http://nicehobbies.org/origami-frog)
❖
❖
ขั้นทดสอบแนวคิด
ครูก�
ำหนดเงื่อนไขว่าจะต้องท�
ำให้กบโอริงามิทั้ง 2 ตัว
เคลื่อนที่จากจุดเริ่มต้นไปยังเส้นชัย ซึ่งมีระยะทาง 45 เซนติเมตร
เท่ากัน โดยขณะเล่นให้นักเรียนเปรียบเทียบจ�
ำนวนครั้งการกด
และสังเกตการออกแรงที่กบทั้ง 2 ตัว จากนั้นให้นักเรียนเปรียบ
เทียบสิ่งที่สังเกตได้กับสิ่งที่คาดคะเนไว้ ซึ่งนักเรียนอาจพบว่า
กบที่มีขนาดเล็กกว่าจะเบากว่า ออกแรงกดน้อยกว่า เคลื่อนที่
ไปได้ระยะทางที่น้อยกว่าในการกดแต่ละครั้ง และทิศทางการ
เคลื่อนที่อาจไม่แน่นอนหากขณะนั้นลมพัดผ่านมา ส่วนกบที่มี
ขนาดใหญ่จะต้องออกแรงกดมากกว่า เคลื่อนที่ไปได้ระยะทาง
ที่มากกว่า มีทิศทางการเคลื่อนที่แน่นอนกว่า และนักเรียนจะ
ได้ค้นพบว่าน�้
ำหนักของกบโอริงามิและวิธีท�
ำให้กบกระโดดมีผล
ต่อการเคลื่อนที่ของกบ
❖
❖
ขั้นออกแบบและปรับปรุงชิ้นงาน
นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันออกแบบกบโอริงามิตัวใหม่ที่
สามารถกระโดดไปได้ระยะทาง 45 เซนติเมตร โดยใช้จ�
ำนวน
ครั้งการกดน้อยที่สุดและออกแรงน้อยที่สุด ก่อนเริ่มการออกแบบ
ครูชักชวนนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงปัจจัยที่อาจส่งผลต่อการ
กระโดดของกบโอริงามิอีกครั้งหนึ่ง ตามหัวข้อดังนี้
• ขนาดของกบ
• ชนิดของกระดาษที่ใช้ในการพับ
• วิธีหรือเทคนิคในการท�
ำให้กบกระโดด
• วิธีการท�
ำให้กบโอริงามิมีน�้
ำหนักมากขึ้น
นักเรียนสามารถน�
ำอุปกรณ์มาออกแบบและสร้างสรรค์กบ
โอริงามิของตนเองหรือครูอาจช่วยเตรียมอุปกรณ์เพิ่มเติมให้
นักเรียนดังนี้ ชนิดของกระดาษที่ใช้ในการพับ เช่น กระดาษ
วาดเขียน กระดาษแข็ง กระดาษสีแบบบาง กระดาษแก้ว วัสดุ
ที่น�
ำมาเพิ่มน�้
ำหนักให้กับกบโอริงามิ เช่น ลวดเสียบกระดาษ
รวมถึงสิ่งที่ต้องใช้ในการตกแต่ง
เมื่อนักเรียนออกแบบกบโอริงามิเรียบร้อยแล้ว ให้แต่ละกลุ่ม
ท�
ำการแข่งขันทั้งหมด 3 ครั้ง แล้วเปรียบเทียบความสามารถ
ของกบโอริงามิ โดยนับจ�
ำนวนครั้งทั้งหมดที่กดให้กบกระโดดจาก
จุดเริ่มต้นจนถึงเส้นชัยจากการแข่งขันทั้ง 3 ครั้ง มาหาค่าเฉลี่ย
รูปที่ 3 กบโอริงามิขนาดต่าง ๆ
(ที่มา :
www.creativejewishmom.com)กิจกรรมเพิ่มความสามารถของกบโอริงามิ
หลังจากที่นักเรียนแต่ละกลุ่มทราบผลแล้วว่ากบโอริงามิของ
กลุ่มตนเองมีความสามารถเพียงใด ครูเปิดโอกาสให้นักเรียน
ปรับปรุง หรือเพิ่มความสามารถของกบโอริงามิของกลุ่มตนเอง
ได้ และน�
ำมาทดสอบเปรียบเทียบกับกบโอริงามิก่อนการปรับปรุง
จากแนวการจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษาด้วยกบโอริงามิ จะเห็น
ได้ว่ากิจกรรมนี้ช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้เนื้อหาทางวิทยาศาสตร์
เกี่ยวกับมวลและการเคลื่อนที่ โดยน�
ำความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้ร่วม
กับกระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์เพื่อออกแบบกบโอริงามิ
ซึ่งจะต้องค�
ำนึงถึงขนาด ชนิดของวัสดุที่น�
ำมาใช้พับกบ เพื่อให้
ได้สิ่งประดิษฐ์ที่มีประสิทธิภาพ (เทคโนโลยี) อีกทั้งยังมีการเก็บ
ข้อมูล นับจ�
ำนวนครั้งที่กบโอริงามิกระโดดได้ และน�
ำมาหาค่า
เฉลี่ย ซึ่งต้องใช้หลักการทางคณิตศาสตร์ในการค�
ำนวณอีกด้วย
กิจกรรมที่น�
ำเสนอในบทความนี้ เป็นตัวอย่างกิจกรรมหนึ่ง
ที่ช่วยจุดประกาย การเป็นนักคิด นักสร้างสรรค์ การออกแบบ
เพื่อเป็นพื้นฐานส�
ำหรับการต่อยอดในการเรียนรู้แบบ STEM
Education ในระดับที่สูงขึ้นไป
ปีที่ 42
|
ฉบับที่ 185
|
พฤศจิกายน-ธันวาคม 2556
31