Previous Page  27 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 27 / 62 Next Page
Page Background

ขั้นตอนหนึ่งที่มีความส�

ำคัญในกระบวนการออกแบบ

วิศวกรรมศาสตร์คือ “

การเลือกวิธีการในแก้ปัญหา”

เป็นขั้น

ตอนที่สะท้อนให้เห็นว่า แนวทางในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง

นั้นสามารถเป็นไปได้หลากหลายวิธี แต่การที่จะได้มาซึ่งวิธีที่

ดีที่สุดนั้นจ�

ำเป็นจะต้องใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์

และเทคโนโลยีเข้าช่วย ตัวอย่างเช่น ปัญหาขยะพลาสติกที่ยาก

ต่อการย่อยสลาย ซึ่งนักวิจัยได้คิดค้นพลาสติกที่เป็นมิตรต่อสิ่ง

แวดล้อมและท�

ำจากวัสดุธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นการผลิตพลาสติก

จากมันส�

ำปะหลัง ข้าวโพด หรือเกล็ดปลา ในกระบวนการการ

แก้ปัญหานี้ นักสะเต็มศึกษาไม่เพียงแค่ให้ความสนใจแค่เพียง

องค์ความรู้ที่อธิบายว่า พลาสติกคืออะไร ผลิตอย่างไร เท่านั้น

แต่ยังรวมไปถึงการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์

และเทคโนโลยี เพื่อหาค�

ำตอบว่าจะต้องใช้วัสดุและวิธีการผลิต

พลาสติกอย่างไรจึงจะท�

ำให้พลาสติกที่ได้ความแข็งแรงที่สุด มี

ความยืดหยุ่นสูงที่สุด ประหยัดต้นทุนในการผลิตมากที่สุด และมี

รูปลักษณ์น่าใช้งานที่สุด ค�

ำตอบของปัญหาเหล่านี้มีความส�

ำคัญ

ต่อการผลิตพลาสติกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างมาก เพราะ

ว่าการที่จะให้พลาสติกที่ผลิตขึ้นมาเหล่านี้เข้าไปสู่การผลิตใน

เชิงอุตสาหกรรมได้นั้น พลาสติกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเหล่า

นี้จะต้องสามารถแข่งขันกับพลาสติกที่ใช้อยู่ในปัจจุบันได้ทั้งใน

ด้านคุณภาพ ประสิทธิภาพและราคา

ตัวอย่างกิจกรรมสะเต็ม: ลูกโป่งน�้

ำบันจีจัมป์

กิจกรรมลูกโป่งน�้

ำบันจีจัมป์เป็นตัวอย่างหนึ่งของกิจกรรม

การเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้เรียนรู้

แบบบูรณาการหลากหลายวิชา ทั้งเนื้อหาทางด้านวิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยความลึก ความเชื่อมโยง และ

ความครอบคลุมของเนื้อหานั้น จะขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบกิจกรรม

เองว่าจะให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมใช้เวลาในการศึกษาหาความ

รู้ที่เกี่ยวข้องมากน้อยเพียงใด ส่วนทักษะการแก้ปัญหาทาง

วิศวกรรมศาสตร์อยู่ในรูปของการแก้ปัญหาภายใต้ความท้าทาย

ในการออกแบบเชือกบันจีจัมป์ที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด ประหยัด

ที่สุด และปลอดภัยกับตัวผู้เล่นมากที่สุด ในส่วนนี้ ผู้เขียนจึงขอ

เริ่มต้นกล่าวถึงองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการกระโดดบันจีจัมป์

ซึ่งเป็นความรู้ที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมควรจะได้ท�

ำการศึกษาก่อน

การลงมือออกแบบเชือกบันจีจัมป์ จากนั้นจะเป็นการน�

ำเสนอ

ตัวอย่างกิจกรรมลูกโป่งน�้

ำบันจีจัมป์ที่สาขาฟิสิกส์ จัดขึ้นในวัน

ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 และในส่วนสุดท้ายของบทความนี้

ผู้เขียนจะกล่าวถึงแนวคิดที่ได้จากการจัดกิจกรรมลูกโป่งน�้

บันจีจัมป์

องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบบันจีจัมป์

ในการออกแบบเชือกส�

ำหรับบันจีจัมป์นั้น ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

จ�

ำเป็นจะต้องสืบค้นหาความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น

ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติของวัสดุประเภทต่าง ๆ ที่ใช้

ในการท�

ำเชือกบันจีจัมป์ โดยเฉพาะสารประกอบพอลิเมอร์ใน

รูปแบบของยาง (เช่น ยางพารา, ยางสังเคราะห์ และยางกึ่ง

สังเคราะห์) เส้นใย (เช่น ผ้าฝ้าย, นุ่น, ใยมะพร้าว, และปอ)

และพลาสติก ซึ่งความรู้เหล่านี้ ปรากฏอยู่ในหนังสือเรียนวิชา

เคมี นอกจากความรู้เกี่ยวกับวัสดุที่ใช้ในการท�

ำเชือกแล้ว ผู้

ออกแบบบันจีจัมป์ควรมีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการ

0

ขนาดแรงที่ใช

ดึง

ความยาวที่สปริงยืดออก

ขีดจำกัดการแปรผันตรง

ขีดจำกัดสภาพยืดหยุ

จุดแตกหัก

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงดึง

และสภาพยืดหยุ่นของสปริงหรือเชือก

ก. ก่อนสปริงถูกดึง

ข. สปริงถูกยืดจนใกล้ขีดจ�

ำกัดสภาพยืดหยุ่น

ค. สปริงถูกยืดจนเกินขีดจ�

ำกัดสภาพยืดหยุ่น

สภาพยืดหยุ่นของสปริงหรือเชือกที่กระท�

ำโดยแรงขนาดต่าง ๆ

ปีที่ 42

|

ฉบับที่ 185

|

พฤศจิกายน-ธันวาคม 2556

27