

ดร.อภิสิทธิ์ ธงไชย
นักวิชาการ สาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท. / e-mail:
atong@ipst.ac.thเรื่องเด่นประจำ
�ฉบับ
เทคโนโลยีและวิศวกรรม
คืออะไรในสะเต็มศึกษา
สะเต็มศึกษา
หรือ
STEM Education
เป็นค�
ำย่อมา
จาก วิทยาศาสตร์ (
S
cience) เทคโนโลยี (
T
echnology)
วิศวกรรมศาสตร์ (
E
ngineering) และคณิตศาสตร์ (
M
athematics)
ซึ่งปัจจุบันโดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกามีความส�
ำคัญที่
ท�
ำให้การพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงไปบ้างโดยมองว่าการเรียนการสอน
ควรมีการบูรณาการระหว่างสาขาวิชาให้มากขึ้นและมีความ
เชื่อมโยงกับชีวิตจริง รวมทั้งการใช้ทักษะส�
ำคัญในศตวรรษที่
21 เพื่อให้ผู้เรียนเห็นความส�
ำคัญของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในชั้นเรียนกับบริบทของโลกแห่ง
ความเป็นจริง เกิดทักษะส�
ำคัญเพื่อการด�
ำเนินชีวิตในสังคม
และการน�
ำมาซึ่งการพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ หรือนวัตกรรม เพื่อการ
พัฒนาขีดความสามารถของประเทศนั่นเอง อย่างไรก็ตามเมื่อ
กล่าวถึงค�
ำว่า สะเต็ม จะพบว่านักการศึกษามีความเข้าใจที่แตก
ต่างกันออกไปค่อนข้างหลากหลาย โดยเฉพาะค�
ำว่า
เทคโนโลยี
และวิศวกรรม (Technology and Engineering)
ซึ่งถือได้ว่าเป็น
ค�
ำใหม่ที่ปรากฏในการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน ดังนั้นบทความนี้
จึงได้น�
ำเสนอความหมายของเทคโนโลยีและวิศวกรรมตามที่ใช้
กันทั้งในประเทศต้นต�
ำหรับอย่างสหรัฐอเมริกาหรือแม้กระทั่งสิ่ง
ที่เคยเป็นอยู่ในประเทศไทย
วิศวกรรมศาสตร์ตามแนวทางของสะเต็มศึกษา
ค�
ำส�
ำคัญที่เพิ่มขึ้นมาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งไม่
ค่อยพูดถึงกันคือ วิศวกรรมศาสตร์ ที่โดยทั่วไปแล้วจะปรากฏ
ชัดเจนในการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย แต่ปัจจุบันมีการน�
ำเอาค�
ำ
ว่าวิศวกรรมศาสตร์มาใช้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งอาจท�
ำให้
เกิดข้อสงสัยและเกิดความสับสนระหว่างวิศวกรรมศาสตร์ในระดับ
มหาวิทยาลัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ก�
ำลังกล่าวถึง ในที่นี้
จะขอสรุปความหมายและแนวทางในการใช้ค�
ำว่าวิศวกรรมศาสตร์
ส�
ำหรับระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ปรากฏในประเทศสหรัฐอเมริกา
กล่าวคือ วิศวกรรมในที่นี้จะมีความหมายเกี่ยวกับการออกแบบ
(design) วางแผน (planning) การแก้ปัญหา (problem solving)
การใช้องค์ความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ มาสร้างสรรค์ผลงาน ภายใต้
ข้อจ�
ำกัดหรือเงื่อนไข (constraints and criteria) ที่ก�
ำหนด โดย
ส่วนมากเรามักจะพูดถึงการออกแบบ ว่ากระบวนการออกแบบ
ทางวิศวกรรม (Engineering design process) ซึ่งจะเห็นได้ว่า
วิศวกรรมในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กล่าวถึงนั้นไม่ได้มีความ
หมายลุ่มลึกจนท�
ำให้ยากต่อการปฏิบัติในระดับขั้นเรียนแต่อย่าง
ใด หากแต่เป็นการน�
ำเอาองค์ความรู้โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างสรรค์ผลงาน
และเชื่อมโยงกับโลกแห่งความเป็นจริงเท่านั้น
ปีที่ 42
|
ฉบับที่ 185
|
พฤศจิกายน-ธันวาคม 2556
35