Previous Page  40 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 40 / 62 Next Page
Page Background

เงื่อนไขการสร้างรางรถไฟเหาะ

ก�

ำหนดให้นักเรียน ออกแบบรางรถไฟเหาะ โดยใช้อุปกรณ์

ที่จัดหามาให้ ร่วมกับสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ในห้องเรียน เช่น โต๊ะ

เก้าอี้ ก�

ำแพง และก�

ำหนดให้การออกแบบและสร้างรางรถไฟ

เหาะอยู่ภายในเงื่อนไขและรายการวัสดุอุปกรณ์ ดังต่อไปนี้

รายการวัสดุและอุปกรณ์และราคา

เกณฑ์การให้คะแนน

รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนการหยุดของรถไฟ

ที่สถานีปลายราง

• ถ้ารถไฟตกราง ได้ 0 คะแนน

• ถ้ารถไฟเลยจากรางไปถูกเข็มท�

ำให้ลูกโป่งแตก

ได้ 0 คะแนน

เมื่อทุกกลุ่มได้ประดิษฐ์รางรถไฟเหาะเสร็จเรียบร้อยแล้ว

ให้แต่ละกลุ่มได้น�

ำเสนอ จากนั้นครูให้แต่ละกลุ่มได้เริ่มทดสอบ

การปล่อยรถไฟ (ลูกแก้ว) ไปตามราง

ภาพที่ 4 นักวิชาการ สสวท. ทดลองท�

ำกิจกรรม “รถไฟเหาะ”

เมื่อทุกกลุ่มได้ปล่อยรถไฟรอบที่ 2 หมดทุกกลุ่มแล้ว ให้

ครูท�

ำการรวบรวมคะแนนที่แต่ละกลุ่มท�

ำได้ และประกาศชื่อ

กลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด (อาจจะมีรางวัลให้เล็กน้อย) จากนั้นครู

น�

ำอภิปรายและสรุปการท�

ำกิจกรรม “รถไฟเหาะ” ตามแนวทาง

สะเต็มศึกษา

อภิปรายและสรุปผลการท�

ำกิจกรรม

ครูน�

ำนักเรียนอภิปรายถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการสร้างราง

รถไฟเหาะ โดยอาจตั้งค�

ำถามต่อไปนี้

• จากกิจกรรมการออกแบบและสร้างรางรถไฟเหาะ

นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง

• ถ้าหากมีการเปลี่ยนให้รถไฟหรือลูกแก้วมีน�้

ำหนักมาก

ขึ้น การเคลื่อนที่ของลูกแก้วไปตามรางรถไฟเหาะจะเปลี่ยนแปลง

ไปอย่างไร

• ในการเลี้ยวโค้งของรถไฟ นักเรียนคิดว่าจะต้องมีการ

ออกแบบและสร้างรางอย่างไร

ล�

ำดับ

ที่

รายการวัสดุ

ราคา /

หน่วย

(ล้านบาท)

หน่วย

1 รางรถไฟ (ฉนวนหุ้มท่อแอร์ที่ผ่าครึ่งตามยาว)

10 ราง

2 เสาค�้

ำราง (แท่งไม้ยาว 50 cm)

2 เสา

3 คานวางราง (ตะเกียบ)

2 คาน

4 ฐานวางเสาค�้

ำราง (แผ่นฟิวเจอร์บอร์ดเจาะรู)

0.1 แผ่น

5 กระดาษกาว

5 ม้วน

6 เชือก

0.5 เมตร

7 ฟิวเจอร์บอร์ดแผ่นไม่เจาะ

0.1 แผ่น

8 ลวด

1 ฟุต

9 กระดาษทรายแบบละเอียด

0.1 แผ่น

10 กระดาษทรายแบบหยาบ

0.5 แผ่น

11 ผ้าก�

ำมะหยี่

0.2 ผืน

รายการ

คะแนน

การหยุดของรถไฟที่สถานีปลายราง

(ด้วยการปล่อยรถไฟ 2 รอบ)

40

การน�

ำเสนอ

30

ความคิดสร้างสรรค์

20

การส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองไทย

10

รวม

100

การหยุดของรถไฟ

ที่สถานีปลายราง

รอบที่ 1

ช่วงที่ 1

0-15 cm

จาก

ปลายราง

20 คะแนน

ช่วงที่ 2

15-30 cm

จาก

ปลายราง

16 คะแนน

ช่วงที่ 3

30-45 cm

จาก

ปลายราง

12 คะแนน

ช่วงที่ 4

45-60 cm

จาก

ปลายราง

8 คะแนน

การหยุดของรถไฟ

ที่สถานีปลายราง

รอบที่ 2

ช่วงที่ 1

0-15 cm

จาก

ปลายราง

20 คะแนน

ช่วงที่ 2

15-30 cm

จาก

ปลายราง

16 คะแนน

ช่วงที่ 3

30-45 cm

จาก

ปลายราง

12 คะแนน

ช่วงที่ 4

45-60 cm

จาก

ปลายราง

8 คะแนน

รวมคะแนนเต็ม 40 คะแนน

ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ ใน

การออกแบบและสร้าง

ใช้ความยาวราง (ฉนวนหุ้มท่อแอร์) ตามที่ก�

ำหนด

คือ 5.4 เมตร (ฉนวนหุ้ม 3 เส้น)

รถไฟ ต้องหยุดที่สถานี ซึ่งอยู่บริเวณปลายของราง

รถไฟที่ห่างจากจุดเริ่มต้นในแนวราบ 3 เมตร

มีการออกแบบให้ส่งเสริมการท่องเที่ยวของไทย

ใช้เวลาสร้าง 40 นาที และเมื่อปล่อยรถไฟรอบที่ 1

แล้ว ให้เวลา 15 นาที ส�

ำหรับการปรับแก้ก่อนจะ

ปล่อยรถไฟรอบที่ 2

สร้างภายใต้ต้นทุน 150 ล้านบาท

นิตยสาร สสวท.

40