

หัวข้องานวิจัยของผู้เขียนเองถูกจัดอยู่ในเรื่อง
การใช้เทคโนโลยี
ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์และการสอนเรื่องเรขาคณิต
ผู้เขียนจึงได้ปักหลักเข้าฟังการนำ
�เสนอผลงานในห้องนี้ เพื่อ
สำ
�รวจดูด้วยว่ามีเพื่อนนักวิจัยและนักศึกษาระดับปริญญาเอก
ท่านอื่น ๆ สนใจศึกษาประเด็นเหล่านี้ในหัวข้อใดบ้าง
สำ
�หรับการบรรยายหัวข้อแรกของห้องเทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษาคณิตศาสตร์ เป็นการบรรยายของคุณ Jose Antonio
Gonzalez นักศึกษาปริญญาเอกจากประเทศสเปนที่สนใจศึกษา
เรื่องการใช้โปรแกรม spreadsheet เช่น MS Excel ช่วยแก้
ปัญหาการคำ
�นวณทางพีชคณิตของเด็กนักเรียนชั้น Grade 6 โดย
คุณ Jose Antonio Gonzalez ได้แสดงวิดีโอคลิปที่นักเรียนใช้
โปรแกรม MS Excel มาใช้แก้ปัญหาโจทย์ต่อไปนี้
“โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนทั้งหมด 510 คน โดย
นักเรียนแต่ละคนสามารถเลือกเข้าชมรมกีฬาสามประเภทได้
เพียงหนึ่งชมรม ถ้ามีนักเรียนเลือกเข้าชมรมแบดมินตันน้อย
กว่าชมรมวอลเลย์บอลอยู่ 30 คน และมีนักเรียนเลือกเข้าชมรม
ปิงปองเป็นสองเท่าของชมรมแบดมินตัน จงหาว่ามีนักเรียนใน
แต่ละชมรมกี่คน”
ซึ่งนักเรียนก็สามารถออกแบบตารางในโปรแกรม
MS Excel เพื่อช่วยในการหาคำ
�ตอบ โดยใช้ฟังก์ชันสูตรและค่า
ผลรวมในโปรแกรมเป็นเครื่องมือช่วยได้ดังนี้
โดยนักเรียนได้ใช้ฟังก์ชันสูตรและชื่อเซลล์ เช่น B2 แทนการ
ใช้ตัวแปรและการเขียนสมการเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
จำ
�นวนนักเรียนในชมรมแบดมินตัน วอลเลย์บอล และปิงปอง
ตามภาพที่ 1 ทางด้านซ้าย จากนั้นจึงใช้วิธีเดาจำ
�นวนนักเรียน
ในชมรมแบดมินตันในช่อง B2 โดยเริ่มจาก 100 คน แล้วสำ
�รวจ
จำ
�นวนรวมไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งสามารถหาค่า B2 ที่ทำ
�ให้
จำ
�นวนรวมเท่ากับ 510 คน ได้เมื่อสมมติให้จำ
�นวนนักเรียนใน
ชมรมแบดมินตันเท่ากับ 120 คน การนำ
�เสนองานวิจัยเรื่องนี้
ได้รับการอภิปรายกับผู้เข้าร่วมประชุมอย่างค่อนข้างกว้างขวาง
ภาพที่ 1 นักเรียนใช้โปรแกรม MS Excel ช่วยในการแก้ปัญหาทางพีชคณิต
ภาพที่ 2 คุณ Taro Fujita นำ
�เสนอสื่อออนไลน์เรื่องความเท่ากันทุกประการ
ตั้งแต่ประเด็นการใช้ชื่อเซลล์ในโปรแกรม MS Excel แทนตัวแปร
x หรือ y การใช้วิธีลองผิดลองถูกร่วมในการหาคำ
�ตอบ รวมถึง
โครงสร้างของการวางตารางที่ไล่ชื่อชมรมลงมาในแนวตั้งซึ่งอาจ
ไม่สอดคล้องกับวิธีการเขียนสมการซึ่งนิยมเขียนในแนวนอน เช่น
อย่างไรก็ดี การใช้ฟังก์ชันสูตรในโปรแกรม MS Excel
ก็ยังมีส่วนช่วยให้นักเรียนทำ
�ความเข้าใจเรื่องตัวแปรและความ
สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรซึ่งเป็นพื้นฐานของพีชคณิตได้จากการใช้
สูตรและการกำ
�หนดชื่อเซลล์ต่าง ๆ ที่ต้องการนั่นเอง
สำ
�หรับผู้นำ
�เสนองานวิจัยชิ้นที่สองในห้องนี้ก็เป็นนัก
วิจัยจากประเทศญี่ปุ่นนำ
�โดยคุณ Taro Fujita ที่สนใจการใช้สื่อ
การเรียนรู้ผ่านเว็บไซต์ในการสอนเรื่องการพิสูจน์ความเท่ากัน
ทุกประการของรูปสามเหลี่ยม โดยคุณ Taro Fujita ได้ออกแบบ
สื่อการสอนที่นักเรียนสามารถใช้เมาส์คลิกเลือกมุมหรือด้าน
ต่าง ๆ ของรูปสามเหลี่ยมมาเปรียบเทียบกันได้ เพื่อพิสูจน์ว่ารูป
สามเหลี่ยมเท่ากันทุกประการด้วยเหตุผลใด ซึ่งนักเรียนระดับ
ชั้น Grade 9 ซึ่งร่วมในงานวิจัยนี้ก็สามารถเรียนรู้สมบัติของ
สามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการได้อย่างดี อย่างไรก็ตามผู้เข้าร่วม
ฟังการบรรยายก็ยังมีข้อเสนอแนะต่อสื่อการสอนนี้ว่า มีตัวอย่าง
แสดงเฉพาะกรณีที่สามเหลี่ยมสองรูปเท่ากันทุกประการเท่านั้น
แต่ยังไม่มีกรณีที่สามเหลี่ยมสองรูปไม่เท่ากันทุกประการเลย
ดังนั้นสื่อการสอนชิ้นนี้น่าจะยังพัฒนาอีกได้ ด้วยการเปิดโอกาสให้
นักเรียนแยกแยะกรณีที่สามเหลี่ยมสองรูปเท่ากันและไม่เท่ากัน
ทุกประการ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบด้วยว่าเพราะอะไร
+
+
จำ
�นวนนักเรียน
ในชมรม
แบดมินตัน
จำ
�นวนนักเรียน
ในชมรม
วอลเลย์บอล
จำ
�นวนนักเรียน
ในชมรม
ปิงปอง
=
510
คน
ปีที่ 42
|
ฉบับที่ 185
|
พฤศจิกายน-ธันวาคม 2556
43