

ฤทัย เพลงวัฒนา
นักวิชาการ สาขาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สสวท. / e-mail :
ruboo@ipst.ac.thเรื่องเด่นประจำ
�ฉบับ
สะเต็มศึกษา
กับการจัดการเรียนรู้
วิชาโลก ดาราศาสตร์
และอวกาศ
สะเต็มศึกษา (STEM Education)
เป็นแนวคิดที่ถูกกล่าว
ถึงกันมากในช่วงนี้ ซึ่งถ้าจะสรุปให้เห็นภาพในขณะนี้คงกล่าว
ได้ว่าสะเต็มศึกษาเป็นแนวทางที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบ
บูรณาการ โดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี
และวิศวกรรมศาสตร์เป็นแกน เน้นการคิดวิเคราะห์และการแก้
ปัญหาอย่างเป็นระบบ เพื่อมุ่งให้น�
ำความรู้ไปใช้ในการด�
ำรง
ชีวิตและการประกอบอาชีพ
แต่ถ้ามีค�
ำถามว่า แล้วสะเต็ม
ศึกษาแตกต่างจากหลักสูตรบูรณาการอย่างไร
ผู้เขียนคิดว่าหลัก
สูตรบูรณาการจะมุ่งเน้นการเชื่อมโยงองค์ความรู้ของศาสตร์ต่าง ๆ
คล้ายคลึงกับสะเต็มศึกษา แต่สะเต็มศึกษาจะมีจุดเด่นอยู่ที่เน้น
ให้มีการน�
ำความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ แต่
ในประเทศไทยเราไม่ได้มีวิชาที่เรียนเกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์
ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนั้นจึงเป็นการน�
ำกระบวนการ
ทางวิศวกรรมมาใช้ในการแก้ปัญหามากกว่าการเรียนแบบ
วิศวกรรมศาสตร์อย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งกระบวนการทางวิศวกรรม
ดังกล่าวจะเป็นกระบวนการเดียวกับกระบวนการเทคโนโลยีของ
สสวท. ซึ่งมี 7 ขั้น คือ ก�
ำหนดปัญหาหรือความต้องการ รวบรวม
ข้อมูล เลือกวิธีการ ออกแบบและปฏิบัติการ ทดสอบ ปรับปรุง
แก้ไข และประเมินผล ส่วนการน�
ำความรู้ทางเทคโนโลยีมาใช้นั้น
มีความเกี่ยวโยงกับวิศวกรรมมากจนบางครั้งอาจแยกออกจาก
กันยาก ผู้เขียนมองว่า ถ้าหมายถึงกระบวนการ สามารถถือว่า
วิศวกรรมและเทคโนโลยีเป็นสิ่งเดียวกัน แต่เทคโนโลยีอาจหมาย
ถึงการน�
ำเทคโนโลยีมาใช้ด้วย เช่น อุปกรณ์ต่าง ๆ เทคโนโลยี
ทางคอมพิวเตอร์ หรือนวัตกรรมทั้งหลายนั่นเอง
และถ้าจะถาม
ต่อว่า กระบวนการเหล่านี้ดีอย่างไร
ผู้เขียนก็ได้ลองหาค�
ำตอบ
ให้กับตัวเองเช่นกัน พบว่าการเรียนรู้ในห้องเรียนมักจะสอนให้
นักเรียนหาค�
ำตอบที่ถูกต้องที่สุดหรือดีที่สุด แต่ในชีวิตจริงบาง
ครั้งสิ่งที่ดีที่สุดอาจไม่ได้ถูกเลือก เพราะมักมีเงื่อนไขจากปัจจัย
อื่น ๆ มาเป็นตัวก�
ำหนด เช่น งบประมาณ สังคม การตลาด
ดังนั้นหลักการเรียนรู้ของสะเต็มศึกษาจึงเน้นให้นักเรียนได้น�
ำ
ความรู้มาแก้ปัญหาภายใต้เงื่อนไขต่าง ๆ อย่างเป็นระบบซึ่ง
คล้ายกับวิธีการด�
ำรงชีวิตหรือการท�
ำงานจริง
แล้วค�
ำถามต่อมาคงจะเป็น จัดการเรียนรู้อย่างไร ต้อง
เป็นวิชาแยกออกมาต่างหากหรือไม่ ซึ่งค�
ำตอบนี้ในหลายประเทศ
ก็พยายามจะหารูปแบบที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศตัวเอง
และแน่นอนอยู่แล้วว่าคงไม่มีรูปแบบที่ตายตัว ดังที่ National
ตามธรรมชาติของวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
จะเป็นวิชาที่บูรณาการความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ทั้งฟิสิกส์
เคมี และชีววิทยา เพื่อมาช่วยในการอธิบายและเข้าใจปรากฏการณ์ต่าง ๆ
ในอีกมุมมองหนึ่งที่ทั้ง 3 รายวิชาข้างต้นอาจยังไม่ได้กล่าวถึง
ปีที่ 42
|
ฉบับที่ 185
|
พฤศจิกายน-ธันวาคม 2556
19