

และอุดมศึกษา โดยทั่วไปสถานที่จ้างงานมักจะให้ทุนสนับสนุน
การศึกษา บ้างก็อาจจัดให้ผู้เรียนได้ท�
ำโครงการที่เกี่ยวกับกิจการ
นั้น ๆ แต่ในบางประเทศ เช่น สหราชอาณาจักร
[3]
มีการจัดระบบ
ที่จะเปิดโอกาสให้ผู้เชี่ยวชาญจากอุตสาหกรรม หรือ ศูนย์วิจัย
และพัฒนา มาท�
ำหน้าที่แนะน�
ำครูและนักเรียนในโรงเรียนให้
รู้จักงานที่ต้องใช้ความรู้และทักษะในการคิดวิเคราะห์ ทั้งนี้ก็
เพื่อสร้างความคุ้นเคยและความเชื่อมั่นของครูและนักเรียนใน
การเรียนการสอนแบบสะเต็มศึกษา
บทบาทของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (สสวท.)
คณะกรรมการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีได้มีมติเห็นชอบให้ สสวท. ด�
ำเนินการ สะเต็มศึกษา
โดยให้จัดตั้งคณะกรรมการหนึ่งชุด และจัดตั้ง
ศูนย์สะเต็มศึกษา
(STEM Academy)
เพื่อเริ่มท�
ำโครงการน�
ำร่องสะเต็มศึกษา
ใน 12 จังหวัด ๆ ละ 3 โรงเรียน ในปีแรก (พ.ศ. 2556) ศูนย์
สะเต็มศึกษา เป็นหน่วยงานรับผิดชอบในการด�
ำเนินโครงการ
น�
ำร่อง และจัดระบบการประชาสัมพันธ์ สร้างเครือข่ายกับ
หน่วยงานต่าง ๆ ประสานการปรับหลักสูตรวิทยาศาสตร์และ
คณิตศาสตร์ และพัฒนาครูและการสอน ในปีที่สอง (พ.ศ. 2557)
ศูนย์สะเต็มศึกษาของ สสวท. จะจัดให้มีการประเมินผลโครงการ
น�
ำร่อง เพื่อพัฒนาเป็นแผนแม่บท (Master Plan) และแผนที่
น�
ำทาง (Roadmap) เพื่อน�
ำไปสู่การยกร่างนโยบายแห่งชาติ
ว่าด้วยสะเต็มศึกษาเสนอต่อรัฐบาล และเตรียมการขยายการ
ด�
ำเนินการขั้นต่อไป ซึ่งจะมุ่งการมีศูนย์สะเต็มศึกษา และทูต
สะเต็มทุกจังหวัด เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
ตามกรอบสะเต็มศึกษาในโรงเรียนทั่วประเทศ นอกจากนี้ ในปีที่
สอง สสวท. จะจัดตั้ง iSTEM เป็นศูนย์การกระจายสื่อการสอน
ผ่านทางอินเทอร์เน็ต และร้านสะดวกซื้อ เพื่อสนับสนุนสะเต็ม
ศึกษา และจัดตั้ง
หอเกียรติยศสะเต็ม (STEMHall of Fame)
เพื่อ
ยกย่องเชิดชูเกียรตินักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ ทูตสะเต็ม
นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์และนักเทคโนโลยีดีเด่นของประเทศ
สะเต็มศึกษาประเทศไทย (STEM Education Thailand)
เนื่องจากการน�
ำสะเต็มศึกษามาใช้ในประเทศไทยจ�
ำเป็นต้อง
ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ดังนั้น สสวท. จึงจ�
ำเป็นต้อง
สร้างเครือข่ายพันธมิตรกับหลายหน่วยงาน นับตั้งแต่โรงเรียน
สถาบันอาชีวศึกษา สถาบันอุดมศึกษา ส่วนราชการในสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการ นอกจากนี้ยังต้องขอความร่วมมือจาก
หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ซึ่งเป็นผู้จ้างผู้ส�
ำเร็จสะเต็ม
ศึกษาสาขาต่าง ๆ รวมเรียกว่า
ก�
ำลังคนด้านสะเต็ม (STEM
workforce)
ผู้จ้างงานเหล่านี้จะมีผู้เชี่ยวชาญที่จะท�
ำหน้าที่เป็น
ทูตสะเต็มได้ และจะมีเครื่องมืออุปกรณ์ ห้องปฏิบัติการ โรงงาน
อาคารและพื้นที่ภาคสนามที่จะให้นักเรียนไปเยี่ยมชมหรือฝึกงาน
ได้ นอกจากนี้บางหน่วยงานอาจมอบโครงงานให้นักเรียนช่วย
วิเคราะห์ทดสอบก็ได้ หน่วยงานที่ดูแลโรงเรียนในพื้นที่ เช่น
กรุงเทพมหานคร หน่วยงานประจ�
ำจังหวัดก็ควรเป็นพันธมิตร
กับ สสวท. ในการด�
ำเนินงานสะเต็มศึกษาประเทศไทย เพื่อช่วย
ส่งเสริมและพัฒนางานอย่างยั่งยืน สสวท. จ�
ำเป็นต้องติดต่อกับ
หน่วยงานในต่างประเทศ สมาคมวิชาการและวิชาชีพ ตลอด
จนมูลนิธิเพื่อการศึกษาด้วย ดังนั้นสะเต็มศึกษาประเทศไทย
จึงไม่ใช่งานของ สสวท. แค่ฝ่ายเดียว แต่ต้องเป็นความร่วม
มือจากทุกภาคส่วน
[4]
“
าษกึศม็ตเะส
”
11/09/56
ประถม
มยธัม
มดุอ
ะวีชาอ
สถาน
ประกอบการ
และ
นางยว
นห
ติฑณับ
ชใู
ผ
ม็ตเะส
ติฑณับ
สะเต็ม
•
ะสตูท ม็ตเ
• โครงการ
• นุท
าษกึศรากจ็รเาํสู
ผ
“
าษกึศม็ตเะส
”
สสวท.
รติมธนัพบักนาสะรปะลแยา
ขอืรคเงา
รสงอ
ต
• กระทรวงศึกษาธิการ
• สถานศึกษาต
าง ๆุ
• กรงเทพมหานคร
•
ดัวหงัจ ต
าง ๆ
ผู
-
ียลโนโคทเ
:
• หน
วยงานรัฐต
าง ๆ
• ภาคอุตสาหกรรมและบริการ
• ภาคเกษตร
•ี
อม็อเสอเ
• องค
การระหว
างประเทศ
• อาเซียนและประเทศต
าง ๆ
•
พีชาชิวะลแรากาชิวมคามส
Dr. Montri Chulavatnatol
25/11/56
Dr. Montri Chulavatnatol
ฟ
สิกส
สังคมใหม
11/09/56
Dr. Montri Chulavatnatol
รตูสกัลห
ครู
นิมเะรปราก
นยีรเกัน
าษกึศกัน
จิกฐษรศเ
มคงัส
ตูท
ม็ตเะส
ตูท
ม็ตเะส
ตูท
ม็ตเะส
ตูท
ม็ตเะส
ปีที่ 42
|
ฉบับที่ 185
|
พฤศจิกายน-ธันวาคม 2556
17