Previous Page  1 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 1 / 62 Next Page
Page Background

เปิดเล่ม

คณะ​ที่​ปรึกษา

​​​

​ประธาน​กรรมการ​​สสวท​.​

​ผู้​อำ

�นวย​การ​​สสวท​.​

บรรณาธิการ​บริหาร​

​​​​

ขจรเดช บุตรพรม ​​​​

ที่​ปรึกษา​กอง​บรรณาธิการ​​​

รอง​ผู้​อำ

�นวย​การ​สสวท. ​​​

ผู้​ช่วย​ผู้​อำ

�นวย​การ​สสวท. ​​

หัวหน้า​กอง​บรรณาธิการ​​​​

​พงษ์​เทพ​​บุญ​ศรี​โรจน์

​​​

กอง​บรรณาธิการ​​

​​​​

ดร.กุศลิน มุสิกุล

ดร.จารุวรรณ แสงทอง

ดร.ชัยวุฒิ เลิศวนสิริวรรณ

ณรงค์ แสงแก้ว

ดุสิต สังข์ร่วมใจ

ถนิม ทิพย์ผ่อง

ธันยากานต์ ยืนตระกูลชัย

นวรัตน์ อินทุวงศ์

เบ็ญจวรรณ ศรีเจริญ

ประกายกานต์ ตรีอาภรณ์

ดร.ประสงค์ เมธีพินิตกุล

ผู้​ช่วย​กอง​บรรณาธิการ​​​

​วนิดา​คล่อง​อาสา​​​

​นิลุบล​​กอง​ทอง​​​

รัชนี​กร​​มณี​โชติ​รัตน์​

สินีนาฎ ทาบึงกาฬ

ดวงมาลย์ บัวสังข์

สิริมดี นาคสังข์

สุประดิษฐ์ รุ่งศรี

เจ้าของ

สถาบัน​ส่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี​​ ​

924​​ถนน​สุขุมวิท​แขวง​พระโขนง​​เขต​คลองเตย​​กทม​.​​10110​​

โทร​.​ 0​-​2392​-​4021​​ต่อ​​3307​

Call Center: 0-2335-5222 ​​​​

(ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท.

หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง

โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย

จักเป็นพระคุณยิ่ง)

วัตถุประสงค์

1. เผย​แพร่​และ​ส่ง​เสริม​ความ​รู้​ทาง​ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์​และ​เทคโนโลยี​ให้​

แก่​ครู​และ​ผู้​สนใจ​ทั่วไป

2. เผย​แพร่​กิจกรรม​และ​ผล​งาน​ของ สสวท.

3. เสนอ​ความ​ก้าวหน้า​ของ​วิทยาการ​ใน​ด้าน​การ​ศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์​

และ​เทคโนโลยี​ที่​จะสนับสนุน​การ​ศึกษา​ของ​ชาติ​ให้​ทัน​กับ​เหตุการณ์​ปัจจุบัน

4. แลก​เปลี่ยน​และ​รับ​ฟัง​ความ​คิด​เห็น​ต่าง ๆ เกี่ยว​กับความ​รู้​ทาง​ด้าน​วิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี​จาก​ครู​และ​ผู้​สนใจ​ทั่วไป

ปาริฉัตร พวงมณี

ดร.พรชัย อินทร์ฉาย

พรพจน์ พุฒวันเพ็ญ

รชยา ศรีสุริฉัน

ราม ติวารี

ดร.วนิดา ธนประโยชน์ศักดิ์

ดร.โศจิวัจน์ เสริฐศรี

สมเกียรติ เพ็ญทอง

สุพจน์ วุฒิโสภณ

ดร.สุพรรณี ชาญประเสริฐ

อุปการ จีระพันธุ

สวัสดีครับ คุณผู้อ่าน สสวท. ทุกท่าน

พริบตาเดียวเวลาก็ล่วงเลยไปอีกหนึ่งปี แต่ สสวท. ยังคงมุ่งมั่นกับการ

เสนอความรู้ผ่านนิตยสารที่เต็มเปี่ยมไปด้วยสาระ พร้อมสอดแทรกความ

เพลิดเพลินให้แก่ผู้อ่านอย่างสูงสุด ตลอด 1 ปีที่ผ่านมาผมได้มีโอกาสเห็น

ผลงานการพัฒนานวัตกรรมต่าง ๆ มากมายที่เกิดขึ้นบนโลกของเรา แต่ก็

อดสงสัยไม่ได้ว่า ใครกันหนอที่สามารถคิดค้นและประดิษฐ์สิ่งเหล่านี้ขึ้นมา…

เขาท�

ำได้อย่างไร? เคยมีอาจารย์ท่านหนึ่งได้กล่าวกับผมว่า

“ตึกรามบ้าน

ช่องที่เห็นกันทุกวันนี้ ไม่สามารถสร้างได้จากทักษะเพียงแค่คน ๆ เดียว

ก็เหมือนกับผลงานทุกชิ้นบนโลกใบนี้ ที่ไม่สามารถสมบูรณ์แบบได้

ถ้าปราศจากการประยุกต์รวมกันของศาสตร์ทุกแขนง”

ผมครุ่นคิดอยู่นาน

จึงเข้าใจว่า นวัตกรรมต่าง ๆ ที่ได้ก�

ำเนิดขึ้นล้วนมาจากการรวมความรู้ของ

ศาสตร์ต่าง ๆ กัน “ซะเต็ม” ที่เลยทีเดียว

เมื่อพูดถึงค�

ำ ๆ นี้…ส�

ำหรับนิตยสาร สสวท. จึงได้หยิบการผนวกค�

ำว่า

“สะเต็ม” หรือ STEM มาประทับองค์ความรู้ไว้ในฉบับนี้ โดย STEM ย่อ

มาจากค�

ำว่า Science Technology Engineering and Mathematics ซึ่ง

เป็นการน�

ำศาสตร์ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และ

คณิตศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ที่มีประโยชน์

อย่างยิ่งแก่ท่านผู้อ่าน คณะผู้จัดท�

ำนิตยสาร สสวท. จึงขอน�

ำเสนอบทความ

ที่เกี่ยวข้องกับสะเต็มศึกษา อาทิ สะเต็มศึกษาประเทศไทยและทูตสะเต็ม

สะเต็มศึกษา ของใหม่ส�

ำหรับประเทศไทยหรือไม่ เรียนรู้แบบ STEM ผ่าน

หุ่นยนต์ และกิจกรรมสะเต็มหรรษา ฯลฯ

นอกจากนี้ยังมีเรื่องราวเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ที่น่าสนใจอีกมากมาย ซึ่ง

ท่านผู้อ่านสามารถเข้าไปอ่านนิตยสาร สสวท. ทั้งฉบับนี้ และย้อนหลัง ได้ที่

http://emagazine.ipst.ac.th

และสามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชันได้ผ่านทาง

“App store” หรือ “Play store” ตามแต่ความสะดวก เราหวังเป็นอย่างยิ่งว่า

ท่านผู้อ่านจะได้รับประโยชน์จากการอ่านนิตยสาร สสวท. อย่างคุ้มค่าเช่นเคย

อนึ่ง…“Innovation distinguishes between a leader and a follower.”

นวัตกรรมเป็นสิ่งที่ท�

ำให้เกิดความแตกต่างระหว่างผู้น�

ำและผู้ตาม (Steve Jobs)

ขจรเดช บุตรพรม

บรรณาธิการบริหาร

ปีที่ 42

|

ฉบับที่ 185

|

พฤศจิกายน-ธันวาคม 2556

1