Previous Page  13 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 13 / 62 Next Page
Page Background

อนุภาค การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวิเคราะห์ด้านฟิสิกส์อนุภาค

ตลอดจนเรียนรู้และฝึกงานกับนักฟิสิกส์ชั้นแนวหน้าที่ CERN

โครงการฯ ได้ด�

ำเนินการคัดเลือกนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ใน

สาขาฟิสิกส์ระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 หรือระดับบัณฑิตศึกษา

และครูสอนฟิสิกส์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่มีศักยภาพ

และคุณสมบัติเหมาะสมในชั้นต้น แล้วน�

ำความขึ้นกราบบังคม

ทูลสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อทรง

คัดเลือกนักศึกษา 2 คน และครูฟิสิกส์ 2 คนในขั้นตอนสุดท้าย

เพื่อเป็นตัวแทนประเทศไทยในการเข้าร่วมโครงการ CERN โดย

นักศึกษา 12 คนเข้าร่วม Summer Student Programme

เป็นเวลา 2 เดือน และครู 2 คน เข้าร่วม CERN High School

Teacher Programme เป็นเวลา 3 สัปดาห์ที่ CERN โครงการฯ

ได้ด�

ำเนินการคัดเลือกนักศึกษาและครูสอนฟิสิกส์ตั้งแต่ปี พ.ศ.

2553 เป็นรุ่นแรก ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน รุ่นที่ 4 ในปี พ.ศ.

2556 นักศึกษาและคุณครูที่สนใจสามารถติดตามรายละเอียดได้

จากเว็บไซต์ http://thaicern.

slri.or.th/

ประมาณเดือน

กรกฎาคมของทุกปี เพื่อน

คุณครูครับนี่คือจุดประสงค์

หลักของการน�

ำเสนอเรื่องราว

ของ CERNในบทความนี้ ซึ่ง

ก็คือต้องการให้เพื่อนคุณครู

มีโอกาสเข้าร่วม CERN

High School Teacher

Programme ครับ

รูปที่ 4 คุณครูปิยะมาศ บุญประกอบ จากโรงเรียนวัดบวรนิเวศ

เข้าร่วมโครงการคุณครูรุ่นที่ 4 เมื่อเดือน กรกฎาคม 2556

2. โครงการ CERN School Thailand และโครงการ

Thailand Experimental Particle Physics Novice

Workshop (อนุภาคน้อย)

เป็นการอบรมทางวิชาการโดยผู้เชี่ยวชาญจาก CERN เพื่อ

เผยแพร่ความรู้ด้านฟิสิกส์อนุภาคและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องให้

กับนักศึกษาในระดับปริญญาโท-เอกของไทย นิสิตนักศึกษาที่

สนใจ สามารถติดตามรายละเอียดได้จากเว็บไซต์ http://www.

ThaiHEP.phys.sc.chula.ac.th

3.โครงการส่งเสริมให้มี National e-Science

Infrastructure Consortium

เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการประมวลผลแบบกริดเพื่อ

ใช้ประโยชน์ในงานวิทยาศาสตร์เชิงค�

ำนวณร่วมกัน รายละเอียด

สามารถติดตามได้จากเว็บไซต์

http://www.e-science.in.th

4. โครงการส่งเสริมนักศึกษาปริญญาโท – เอก

นักวิจัย ไปท�

ำวิจัย ณ CERN

5. โครงการส่งเสริมให้มีการท�

ำวิจัยร่วมกับ CERN

เพื่อนคุณครูคงเห็นแล้วว่าโอกาสที่ท่านจะมีส่วนร่วมใน

โครงการที่หนึ่งอยู่แค่เอื้อม และที่ส�

ำคัญ สสวท. ในฐานะที่เป็น

หน่วยงานหนึ่งใน 13 ที่มีภารกิจเผยแพร่ความรู้และสร้างความ

ตระหนักเกี่ยวกับภารกิจของ CERN สาขาฟิสิกส์จึงออกแบบคิด

กิจกรรมเกี่ยวกับเครื่องเร่งอนุภาค (accelerator) และกิจกรรม

อื่น ๆ จะกล่าวต่อไป

ก่อนอื่นเรามาท�

ำความเข้าใจกับทฤษฎีของ

เครื่องเร่งอนุภาค

(accelerator)

ก่อนนะครับ ในการศึกษาองค์ประกอบของ

นิวเคลียสสามารถท�

ำได้โดยใช้อนุภาคที่มีประจุเคลื่อนที่ด้วย

ความเร็วสูงหรือที่มีพลังงานสูงยิงไปยังนิวเคลียสของธาตุต่าง ๆ

ท�

ำให้นิวเคลียสแตกออก และพบอนุภาคจ�

ำนวนมาก การท�

ำให้

อนุภาคที่มีประจุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง สามารถท�

ำได้โดยใช้

เครื่องเร่งอนุภาค (particle accelerator) ซึ่งมีหลายแบบ ในที่

นี้จะกล่าวเฉพาะเครื่องเร่งอนุภาค 2 แบบ คือ เครื่องเร่งเชิงเส้น

หรือเครื่องเร่งแนวตรง (linear accelerator) กับไซโคลทรอน

(cyclotron) หรือเครื่องเร่งแนววงกลม

ก) เครื่องเร่งแนวตรง หรือ LINAC

เกิดจากแนวคิดของไอซิง

(Ising) ในปี พ.ศ. 2468 ที่มีแนวคิดจะเร่งอนุภาคที่มีประจุโดยใช้

สนามความถี่วิทยุของกระแสสลับ ท�

ำให้อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า

เคลื่อนที่แนวเส้นตรง ซึ่งมีการใช้งานจริงในปีพ.ศ. 2471 LINAC

ประกอบด้วยอิเล็กโทรด (electrode) ที่เป็นทรงกระบอกกลวง

สุญญากาศที่มีความยาวเพิ่มขึ้นคือ

1 2 3 4 5 6

, , , , , , ...

C C C C C C

ซึ่งต่ออนุกรมสลับกันกับแหล่งก�

ำเนิดกระแสสลับ ระหว่างทรง

กระบอกเหล่านี้มีช่องว่างที่มีระยะห่างเท่ากัน ดังรูป

13

ปีที่ 42 ฉบับที่ 187 มีนาคม - เมษายน 2557