Previous Page  19 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 19 / 62 Next Page
Page Background

19

ปีที่ 42 ฉบับที่ 187 มีนาคม - เมษายน 2557

สุรัชน์ อินทสังข์

อาจารย

ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

เบื้องหลังการออกแบบ

กิจกรรม steM คณิตศาสตร

ระดับประถมศึกษา

ก�รจัดก�รเรียนรู้แบบ STEM คือก�รจัดก�รเรียนรู้เชิงบูรณ�

ก�รเนื้อห� โดยเน้นเนื้อห�ส�ระวิทย�ศ�สตร์และคณิตศ�สตร์

และเรียนรู้ผ่�นกระบวนก�รและเครื่องมือท�งเทคโนโลยีและ

วิศวกรรม

ผู้เขียนร่วมยกร่�งตัวอย่�งกิจกรรม STEM สำ

�หรับผู้เรียน

ระดับประถมศึกษ� ผู้เขียนมีหลักก�รที่ยึดไว้ในใจหล�ยประก�ร

ขณะที่ออกแบบกิจกรรม ได้แก่

หนึ่ง เครื่องจะต้องครบ ต้องมีวิทย�ศ�สตร์ คณิตศ�สตร์

เทคโนโลยี และวิศวกรรมศ�สตร์

สอง เป

ดเรื่องด้วยสถ�นก�รณ์ป

ญห� ซึ่งจะต้องใกล้เคียง

คว�มเป็นจริงม�กที่สุด และจะต้องเป็นสถ�นก�รณ์ป

ญห�ที่

ท้�ท�ย ชวนคิดชวนแก้ และมีคว�มสนุกอยู่ในตัว

ส�ม ผู้เรียนต้องได้ลงมือปฏิบัติ ทั้งคิดและจัดก�รกับป

ญห�

ร่วมกัน (กับครูและเพื่อน)

เพื่อให้มี T และ E อยู่ในกิจกรรมด้วย จึงได้มีก�รตกลงกัน

ว่�จะนำ

�กระบวนก�รเทคโนโลยี (technological process /

process of technology) ม�เป็นตัวนำ

�ท�ง กระบวนก�ร

เทคโนโลยี (อ้�งอิงส�ข�ออกแบบและเทคโนโลยี) มี 7 ขั้น ต�ม

ลำ

�ดับดังนี้

1. ขั้นกำ

�หนดป

ญห�หรือคว�มต้องก�ร (Identify)

2. ขั้นรวบรวมข้อมูล (Information gathering)

3. ขั้นเลือกวิธีก�ร (Selection)

4. ขั้นออกแบบและปฏิบัติก�ร (Design and making)

5. ขั้นทดสอบ (Testing to see if it works)

6. ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Modification and

improvement)

7. ขั้นประเมินผล (Assessment)

กระบวนก�รเทคโนโลยีคล้�ยกับกระบวนก�รแก้ป

ญห�

ทั่ว ๆ ไปในส�ข�อื่น ๆ เช่น วิศวกรรมศ�สตร์ มีคำ

�ว่� technology

design process ซึ่งน่�สนใจเพร�ะ design แปลว่� ออกแบบ

ฉะนั้น ในก�รปฏิบัติกิจกรรมของเด็ก เด็กจะต้องออกแบบ

แนวท�งของก�รแก้ป

ญห�เอง ไม่ใช่ก�รทำ

�ต�มขั้นตอน

วิธีที่ถูกกำ

�หนดม�ให้โดยไม่ต้องคิดอะไรเลย

เริ่มต้นก�รออกแบบตัวอย่�งกิจกรรม ที่เด็กจะปฏิบัติร่วม

กันได้ โดยเป็นกิจกรรมที่สนุก และเชื่อมโยงกับคณิตศ�สตร์และ

วิทย�ศ�สตร์ด้วย ผู้เขียนนึกถึงกิจกรรมเกี่ยวกับก�รชั่ง ตวง วัด

กิจกรรมปรุงอ�ห�ร ทำ

�ขนม ทำ

�ของเล่น สร้�งสิ่งประดิษฐ์ หรือ

ง�นฝีมือลักษณะต่�ง ๆ จ�กนั้นจึงสร้�งสถ�นก�รณ์ป

ญห�ที่ทำ

�ให้

เด็กเกิดข้อสงสัย และอย�กจะห�คำ

�ตอบอย่�งสนุกสน�น ผู้เขียน

ขอยกตัวอย่�งต�มแนวท�งนี้สองกิจกรรม และลำ

�ดับที่ม�ที่ไป

ของกิจกรรมทั้งสองให้เป็นแนวท�ง

ตัวอย่างกิจกรรม “ขนมเจลลีที่ถูกใจ”

หมายเหตุ : การเขียนตัว s t e เป็นตัวเล็ก และเขียน M เป็นตัว

ใหญ่ เพื่อบอกให

รู

ว่า กิจกรรมการเรียนรู

ในบทความนี้มีแกนหลักเป็น

คณิตศาสตร