

24
นิตยสาร สสวท.
ซึ่งจากแนวคิดการประเมินของ PISA 2012 นั้นได้สอดคล้องกับแนวคิดของ De Lange ซึ่งได้อธิบายความหมายของ
การรู้เรื่องทางคณิตศาสตร์ว่าเป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ วิธีการและกระบวนทางคณิตศาสตร์ในบริบทต่าง ๆ อย่างชาญฉลาด
และไตร่ตรอง โดยการรู้เรื่องทางคณิตศาสตร์นั้นมีองค์ประกอบมาจากความรู้ 3 ด้าน คือ การรู้เรื่องเชิงปริภูมิ (Spatial Literacy)
การคิดค�
ำนวณ (Numeracy) และการรู้เรื่องเชิงปริมาณ (Quantitative Literacy)
การรู้เรื่องทางคณิตศาสตร์
(Mathematical Literacy)
การรู้เรื่องเชิงปริภูมิ
(Spatial Literacy)
การรู้เรื่องเชิงปริมาณ
(Quantitative Literacy)
รูปที่ 2 โครงสร้างการรู้เรื่องทางคณิตศาสตร์ของ De Lange (1999)
ปัญหาในบริบทของสถานการณ์จริง
หมวดหมู่เนื้อหาทางคณิตศาสตร์
: ปริมาณ ความไม่แน่นอนและข้อมูล การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์
และปริภูมิและรูปทรงสามมิติ
หมวดหมู่ของสิ่งแวดล้อมในสถานการณ์จริง
: บุคคล สังคม การประกอบอาชีพ และวิทยาศาสตร์
ปัญหาในชีวิตจริง
(Problem in context)
ปัญหาทางคณิตศาสตร์
(Mathematical problem)
คำ
�ตอบในชีวิตจริง
(Results in context)
คำ
�ตอบทางคณิตศาสตร์
(Mathematical results)
ใช้
(Employ)
ประเมินผล
(Evaluate)
สร้าง (Formulate)
แปลความ (Interpret)
รูปที่ 1 รูปแบบการรู้เรื่องทางคณิตศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์
(Change and relationships)
ความไม่แน่นอนและข้อมูล
(Uncertainty and data)
ปริมาณ
(Quantity)
ปริภูมิและรูปทรงสามมิติ
(Space and shape)
การคิดคำ
�นวณ
(Numeracy)
แนวคิดและการปฏิบัติทางคณิตศาสตร์
: มโนทัศน์ ความรู้ และทักษะทางคณิตศาสตร์
ความสามารถพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
: การสื่อสาร การน�
ำเสนอ การใช้ยุทธวิธีทางคณิตศาสตร์
การให้เหตุผลและการอ้างเหตุผล การใช้สัญลักษณ์อย่างเป็นทางการ การใช้ภาษาและการด�
ำเนินการ
อย่างถูกต้อง การใช้เครื่องมือทางคณิตศาสตร์
กระบวนการ
: การสร้าง การใช้ การแปลความ/การประเมินผล