Previous Page  27 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 27 / 62 Next Page
Page Background

27

ปีที่ 42 ฉบับที่ 187 มีนาคม - เมษายน 2557

คณิตศาสตร์กับนิติวิทยาศาสตร์

เนื่องจากปัญหาอาชญากรรมที่เกิดขึ้นมากมายในปัจจุบัน

ไม่ว่าจะเป็นการโจรกรรม การท�

ำร้ายร่างกาย และการฆาตกรรม

ท�

ำให้มีความจ�

ำเป็นที่จะต้องหาตัวผู้กระท�

ำความผิดมาลงโทษ

ตามกฎหมาย โดยอาศัยการตรวจพิสูจน์หลักฐานต่าง ๆ ด้วย

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อหาหลักฐานยืนยัน

ความผิดของบุคคลเหล่านั้น ท�

ำให้มีความต้องการผู้เชี่ยวชาญ

เฉพาะด้านการพิสูจน์หลักฐาน และเกิดสาขาวิชาใหม่ขึ้น คือ

นิติวิทยาศาสตร์ (Forensic Science)

โดยจะเน้นที่การน�

ความรู้ทางคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา กีฏวิทยา และ

เทคโนโลยี ไปประยุกต์ใช้ในการสืบสวนคดีต่าง ๆ

วิธีทางนิติวิทยาศาสตร์วิธีหนึ่งที่น�

ำเสนอ คือ การใช้ความรู้

ทางคณิตศาสตร์ในการหาต�

ำแหน่งที่เหยื่อถูกท�

ำร้ายจากการ

กระจายตัวของหยดเลือดและน�

ำไปสู่การอธิบายเหตุการณ์ที่

เกิดขึ้นในที่เกิดเหตุได้ เช่น เจ้าหน้าที่นิติวิทยาศาสตร์สามารถ

ใช้รอยเลือดสันนิษฐานเหตุการณ์ในห้องที่เกิดการฆาตกรรม

และคาดการณ์ได้ว่าผู้ตายถูกท�

ำร้ายที่ต�

ำแหน่งใดของห้อง มีการ

ขัดขืนหรือไม่ หรือมีการต่อสู้กันเกิดขึ้นในที่เกิดเหตุหรือไม่ หรือ

เป็นการจัดฉากเพื่ออ�

ำพรางคดี โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับตรีโกณมิติ

ที่เรียนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5

ก่อนอื่นพิจารณาหยดเลือดที่มีลักษณะเป็นทรงกลมเคลื่อนที่

ไปในอากาศ กระทบกับพื้นผิวไม่ว่าจะเป็นพื้น ผนัง หรือเพดาน

ถ้าหยดเลือดนี้เคลื่อนที่ในแนวตั้งฉากกับพื้นผิว เลือดจะกระจาย

ตัวออกไปทุกทิศทุกทางเท่ากัน และจะได้รอยเลือดที่มีลักษณะ

เป็นรูปวงกลม แล้วจะเกิดอะไรขึ้น ถ้าหยดเลือดเคลื่อนที่ท�

ำมุม

กับพื้นผิวน้อยกว่า 90

o

ในความเป็นจริง เมื่อเกิดคดีฆาตกรรม เลือดมักจะออกมา

จากตัวเหยื่อ แล้วกระเด็นไปโดนพื้นผิวต่าง ๆ โดยการเคลื่อนที่

นี้จะท�

ำมุมกับพื้นผิว ถ้าหยดเลือดเคลื่อนที่โดยท�

ำมุม ซึ่งมี

ค่าน้อยกว่า 90

o

(0 < <90

o

) เมื่อหยดเลือดกระทบกับพื้นผิว

เลือดจะกระจายตัวและยืดออกไปตามทิศทางการเคลื่อนที่ ซึ่ง

รอยเลือดจะมีลักษณะเป็นรูปวงรี ดังรูปที่ 1 และเมื่อก�

ำหนดให้

W

แทนความกว้างของรอยเลือด และ

L

แทนความยาวของรอย

เลือด ดังรูปที่ 2 จะได้ว่าความกว้างของรอยเลือดเท่ากับความ

ยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางของหยดเลือด เมื่อถึงจุดนี้ผู้อ่านอาจ

สงสัยว่าท�

ำไมความกว้างของรอยเลือดจึงเท่ากับความยาวของ

เส้นผ่านศูนย์กลางของหยดเลือด

หยดเลือด

รอยเลือด

รอยเลือด

ปฐมาภรณ์ อวชัย

นักวิชาการ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สสวท. / e-mail :

pawac@ipst.ac.th

รูปที่ 2

รูปที่ 1

ถ้าเปรียบเส้นทางการเคลื่อนที่ของหยดเลือดเป็นท่อทรง

กระบอกที่ตอนปลายของท่อมีหน้าตัดเป็นรูปวงรี ดังรูปที่ 3

จะได้ว่าความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางของหยดเลือดเท่ากับ

ความกว้างของรูปวงรี และจากรูปที่ 1 จะสามารถหาขนาด

ของมุมที่เส้นทางการเคลื่อนที่ของหยดเลือดทำ

�กับพื้นเมื่อทราบ

ความกว้างและความยาวของรอยเลือดได้ เมื่อ แทนขนาดของ