Previous Page  26 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 26 / 62 Next Page
Page Background

26

นิตยสาร สสวท.

PISA

ประเทศไทย

ปริภูมิและรูปทรงสามมิติ / การเปลี่ยนแปลง

และความสัมพันธ์ / ปริมาณ / ความไม่แน่นอนและข้อมูล

จ�

ำนวนและการด�

ำเนินการ

การน�

ำไปใช้

ทักษะและกระบวนการแต่ขาดการเชื่อมโยงไปสู่ชีวิตจริง

สถานการณ์หรือปัญหาในชีวิตจริง

แบบฝึกหัด

การแปลความ / การประเมินผลจากสถานการณ์

หรือปัญหาในชีวิตจริง

การท�

ำถูกหรือผิดจากแบบฝึกหัด

เปลี่ยนจาก

มาสู่

ออกแบบหรือจัดการเรียนการสอนเพียงล�

ำพัง

ออกแบบหรือจัดการเรียนร่วมกับเพื่อนร่วมงาน

เน้นพุทธิพิสัย

(cognitive domain)

เน้นพุทธิพิสัยควบคู่ไปกับทักษะทางสังคม กายภาพ

เน้นกิจกรรมในหนังสือ

เน้นกิจกรรมการแก้ปัญหาในชีวิตจริง

ครูเป็นศูนย์กลาง

นักเรียนเป็นส�

ำคัญ รวมถึงการเรียนรู้แบบทดลอง

(exploratory

learning)

หรือการเรียนรู้แบบสืบเสาะ

(inquiry learning)

เน้นการวัดผลในการเรียน

ปรับความสมดุลระหว่างการวัดผลของการเรียนและการวัดผล

เพื่อการเรียน

เปลี่ยนจาก

มาสู่

เน้นการหาค�

ำตอบ

เน้นการหาค�

ำตอบควบคู่กับการแสดงถึงความเข้าใจในปัญหานั้น

ขาดการมีส่วนร่วม

มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้

สร้างแรงจูงใจจากภายนอก

สร้างแรงจูงใจด้วยตนเอง

เลิกหรือยอมแพ้เมื่อเจอกับปัญหา

ตั้งเป้าหมายในการแก้ปัญหาและมีความวิริยะเมื่อเจอกับปัญหา

การแก้ปัญหาหรือหาค�

ำตอบขึ้นอยู่กับครู

ให้ครูและเพื่อนในห้องเรียนเป็นพี่เลี้ยงในการแก้ปัญหา

ตาราง 2 เปรียบเทียบจุดเน้นของหลักสูตร

ดังนั้นภาระหน้าที่ของครูผู้สอนจะต้องเปลี่ยนบทบาทและการสอนใหม่ เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาความสามารถอย่างเต็มที่

และตอบศตวรรษที่ 21

บทบาทของนักเรียน

ค�

ำถามจากนี้คือ เมื่อมีการปฏิรูปการศึกษาครั้งที่ 2 (อาจจะเกิดขึ้นเร็ว ๆ นี้) นักเรียนไทยจะเกิดทักษะที่จ�

ำเป็นในศตวรรษ

ที่ 21 หรือไม่นั้นต้องขึ้นอยู่กับหลาย ๆ องค์ประกอบ แต่หวังว่าเมื่อมีการปฏิรูป นักเรียนสามารถยืนอยู่บนสังคมได้อย่างชาญฉลาด

รู้ทัน มีการคิดวิเคราะห์และไตร่ตรองข่าวสารอย่างดี พร้อมทั้งน�

ำความรู้ที่เรียนในห้องเรียนไปใช้ในชีวิตประจ�

ำวัน

บรรณานุกรม

De Lange, J. (1999).

Framework for Classroom Assessment in Mathematics

. Madison, WI: National Center for Improving Student Learning and Achievement

in Mathematics and Science. (ncisla)

OECD. (2013),

PISA 2012 Assessment and Analytical Framework: Mathematics, Reading, Science, Problem Solving and Financial Literacy

, OECD Publishing.

Stacey, Kaye. (2012).

The international assessment of mathematical Literacy: PISA 2012 Framework and items

. Paper presented at 12

th

International

Congress on Mathematical Education, 8 July-15 July, 2012, COEX, Seoul, Korea.

Treffers, A. (1991). Meeting Innumeracy at Primary School.

Educational Studies in Mathematics

,

22

(4), 333-352.

บทบาทของครู