Previous Page  22 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 22 / 62 Next Page
Page Background

22

นิตยสาร สสวท.

จ�กตัวอย่�งกิจกรรมทั้งสอง ดูเหมือนว่� เป็นรูปแบบที่จะ

ทำ

�ให้ห้องเรียนโกล�หล ก�รเรียนก�รสอนคณิตศ�สตร์แบบเดิม ๆ

ก็ยังคงมีอยู่ เพร�ะเมื่อเสร็จสิ้นจ�กก�รทำ

�กิจกรรม ครูส�ม�รถโยง

คณิตศ�สตร์เข้�ม�สู่เรื่องขนมเจลลีและเรื่องว่�วอีกครั้งได้

กิจกรรม “ขนมเจลลีที่ถูกใจ” ครูตั้งโจทย์ป

ญห�เกี่ยวกับก�ร

ทำ

�ขนมเจลลี เช่น

1. วุ้นเจล�ตินสำ

�เร็จรูป 3 กล่อง จะทำ

�ขนมเจลลีได้กี่ถ้วย

2. เพื่อนแต่ละคนในห้องต้องก�รรับประท�นขนมเจลลี

คนละ 5 ถ้วย จะต้องเตรียมวุ้นเจล�ตินสำ

�เร็จรูป น้ำ

�อุ่น น้ำ

�เย็น

เท่�ไรจึงจะพอดี

กิจกรรม “ทำ

�ว่�วกันเถอะ” ครูอ�จถ�มคำ

�ถ�มเรื่องพื้นที่ของ

ว่�วที่ทำ

�ขึ้น ถ�มเรื่องสมม�ตร หรือผูกเรื่องเป็นคำ

�ถ�มคณิตศ�สตร์

เพิ่มเติมได้ เช่น

1. ว่�วจุฬ�ตัวนี้ชนะก�รแข่งขันว่�วพนันในสมัยรัชก�ลที่ 5

ให้ประม�ณพื้นที่ของกระด�ษที่ใช้ทำ

�ว่�วจุฬ�ตัวนี้

(ที่มา:

http://www.finearts.go.th/system/files/old_photo54-2.pdf)

(ที่มา:

http://img138.imageshack.us/img138/9996/kite293qk7.jpg

)

2. ว่�วไทยมีหล�ยชนิด ว่�วแต่ละชนิดมีชื่อต่�งกันไป

นักเรียนคิดว่�ทำ

�ไมว่�วแต่ละชนิดจึงมีชื่ออย่�งนั้น และว่�วแต่ละ

ชนิดมีสิ่งใดที่เหมือนกันบ้�ง

จ�กตัวอย่�งกิจกรรม STEM ดังกล่�ว ผู้เขียนมีข้อคิดเห็นบ�ง

ประก�ร

1. ควรเพิ่มขั้น communicating the solution

ต่อจ�กกระบวนก�รเทคโนโลยีทั้ง 7 ขั้น เพื่อให้เด็กได้สรุปก�ร

เรียนรู้และคว�มคิดของตัวเอง และสื่อส�รคว�มสำ

�เร็จของ

ตัวเองให้ผู้อื่นรับรู้

2. กิจกรรม “ขนมเจลลีที่ถูกใจ ส�ม�รถบูรณ�ก�รหัวข้อ

วิทย�ศ�สตร์เข้�ไปได้หล�ยเรื่อง เช่น ทำ

�ไมวุ้นจึงแข็งตัวเป็นเจลลี

ปล่อยให้เย็นเอง ไม่แช่ตู้เย็น วุ้นจะแข็งตัวหรือไม่ วุ้นเจล�ติน

สำ

�เร็จรูปทำ

�ม�จ�กอะไร มีประโยชน์อย่�งไรบ้�ง หรือทำ

�ไมใน

ก�รทำ

�ขนมเจลลีต้องผสมน้ำ

�อุ่นก่อนน้ำ

�เย็น สลับผสมน้ำ

�เย็นก่อน

ได้หรือไม่ ส่วนกิจกรรม “ทำ

�ว่�วกันเถอะ” เกี่ยวกับแรงที่ทำ

�ให้

ว่�วลอยอยู่ได้

ก�รออกแบบแผนก�รจัดก�รเรียนรู้บูรณ�ก�รแบบนี้ ต้องก�ร

คว�มร่วมมือของครูหล�ยส�ข� กิจกรรมที่ผู้เขียนเสนอไว้ใน

บทคว�มนี้ ไม่ได้ลงร�ยละเอียดของเนื้อห�วิทย�ศ�สตร์ว่�จะมีเรื่อง

อะไรบ้�งและจะบูรณ�ก�รกันอย่�งไร จึงต้องก�รครูวิทย�ศ�สตร์

ม�นำ

�เนื้อห�วิทย�ศ�สตร์เข้�ไปหลอมรวม ในท�งกลับกัน แผน

กิจกรรม STEM ที่ยกร่�งโดยครูส�ข�อื่นที่ไม่ใช่คณิตศ�สตร์ ก็น่�

จะได้ประโยชน์จ�กก�รมีส่วนร่วมของครูคณิตศ�สตร์เช่นกัน สรุป

ก็คือ ครูวิทย�ศ�สตร์และครูคณิตศ�สตร์ควรคิดและเขียนแผนร่วม

กันตั้งแต่เริ่มต้น เพื่อให้ได้แผนกิจกรรม STEM ที่เต็มจริง ๆ ไม่ใช่

เป็นได้แค่ steM

ผู้เขียนหวังว่� บทคว�มนี้คงเป็นประโยชน์ได้บ้�ง