Previous Page  20 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 20 / 62 Next Page
Page Background

20

นิตยสาร สสวท.

(ที่มา:

http://pietmondriaan.com/pm/wp-content/uploads/2009/12/kite1-500x426.jpg)

ที่มาและความเป็นไป

เด็ก ๆ ชอบขนม ขนมเจลลีเป็นขนม

ที่ทำ

�ง่าย ทำ

�ได้เองที่บ้าน ใคร ๆ ก็ทำ

�ได้ ขั้นตอนการทำ

�ขนม

เจลลีต้องชั่ง ตวง และวัดปริมาณของวุ้นและน้ำ

� ซึ่งทักษะการวัด

เป็นทักษะปฏิบัติทางคณิตศาสตร์ที่เด็กควรทำ

�ได้

แนวการจัดกิจกรรม แบ่งเป็นขั้นตามกระบวนการเทคโนโลยี

7 ขั้น

1. ขั้นกำ

�หนดป

ญหาหรือความต

องการ : ครูต้องทำ

�ให้เกิด

ปัญหา ด้วยการนำ

�ขนมเจลลีที่ไม่ค่อยอร่อยมาให้เด็ก ๆ ชิม (เช่น จืด

และแข็งเกินไป) จากนั้นชวนกันทำ

�ขนมเจลลีที่อร่อยขึ้นตามความ

คิดของเด็ก สังเกตว่าในขั้นนี้ ครูเป็นผู้วางแผนสร้างสถานการณ์

ปัญหาให้เด็กสงสัย แล้วให้เด็กกำ

�หนดความต้องการของตนเองว่า

จะทำ

�ขนมเจลลีอย่างไรให้อร่อยกว่าขนมที่ครูนำ

�มาให้ชิม

2. ขั้นรวบรวมข

อมูล : ค้นหาข้อมูลว่าขนมเจลลีทำ

�อย่างไร

อุปกรณ์มีอะไรบ้าง ครูอาจให้ข้อมูลตามความเหมาะสม และเตรียม

อุปกรณ์ทั้งหมด ในขั้นนี้ ถ้าเป็นเด็กเล็ก ครูอาจทำ

�ให้นักเรียนดูไป

พร้อม ๆ กัน ถ้าเป็นเด็กโต ให้ทำ

�เองเป็นกลุ่มโดยทำ

�ตามวิธีที่ระบุ

ไว้ข้างกล่องวุ้นเจลาตินสำ

�เร็จรูป เมื่อเด็กรู้ว่าขนมเจลลีทำ

�ได้อย่างไร

ให้ทำ

�เองและชิมก่อนไปสู่ขั้นต่อไป

3 . ขั้นเลือกวิธีการ วิธีการคือปัจจัยที่ส่งผลต่อ

ความอร่อยของขนมเจลลีที่ออกมา ครูควรถามว่า ขนมเจลลีที่ทำ

อร่อยขึ้นไหม โดยถามเจาะจงไปที่ รสชาติ/ความหวาน/เปรี้ยว และ

ความยืดหยุ่นของขนมเจลลี เหลวเกินไป ยืดหยุ่นพอดี หรือว่าแข็ง

เกินไป จากนั้นให้นักเรียนทำ

�ขนมเจลลีอีกครั้ง ให้ถูกใจตัวเองที่สุด

4. ขั้นออกแบบและปฏิบัติการ : เด็กจะต้องคิดว่า การ

ทำ

�ขนมเจลลีให้มีรสหวานขึ้นหรือหวานน้อยลง จะทำ

�อย่างไร

(เพิ่มหรือลดน้ำ

�/วุ้น) การทำ

�ขนมเจลลีให้ยืดหยุ่นพอดีถูกใจ (อาจ

เหลวหรือแข็ง ก็แล้วแต่ชอบ) จะทำ

�ได้อย่างไร (เพิ่มลดน้ำ

�/วุ้น)

ในขั้นนี้ ครูควรถามกระตุ้นเพื่อให้เด็กคิดให้ได้ว่า เขาควรทำ

ขนมเจลลีหลาย ๆ แบบในคราวเดียว ด้วยส่วนผสมที่ต่างกัน

จากนั้นลงมือปฏิบัติ

5. ขั้นทดสอบ : ทดสอบด้วยการชิม ชิมคนเดียว

บางคน หรือ ทุกคน แล้วแสดงความเห็น

6. ขั้นปรับปรุงแก

ไข : ขั้นนี้ให้สรุปผลการชิม หากยังไม่

พอใจกับขนมเจลลีที่ทำ

�ได้ ร่วมกันพิจารณาว่าควรปรับเปลี่ยนอะไร

บ้าง และปรับอย่างไร หรือพิจารณาปัจจัยใหม่อื่น ๆ (รูปแบบของ

ภาชนะ/อุณหภูมิ/ระยะเวลาการแช่ ฯลฯ) แล้วลงมือปฏิบัติ

7. ขั้นประเมินผล : ให้เด็กชิมขนมเจลลีหลังการปรับปรุง

แล้วประเมินว่า ถูกใจแล้วหรือยัง ถ้ายัง ควรปรับอะไรและอย่างไร

อีก จากนั้นให้เด็กเขียนสรุปสูตรส่วนผสมและวิธีการทำ

�ขนมเจลลี

ที่ตัวเองถูกใจ ส่งครูและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนกลุ่มอื่น

ตัวอย่างกิจกรรม “ทำ

�ว่าวกันเถอะ”

ที่มาและความเป็นไป

ตัวอย่างกิจกรรม STEM ที่

เกี่ยวกับเรขาคณิต รูปเหลี่ยมชนิดต่าง ๆ ที่เด็กได้เรียน

เช่น กระเบื้องปูพื้นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ผ้าขาวม้ารูปสี่เหลี่ยม

ผืนผ้า ทำ

�ไมรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนจึงได้ชื่อนี้ และโยงมาที่

รูปว่าว ผู้เขียนอยากให้เด็กได้ทำ

�ว่าวเองและได้เล่นว่าวจริง ๆ

แต่ว่าวต้องการลมและบริเวณโล่งกว้าง จึงอาจเป็นข้อจำ

�กัดของ

กิจกรรมนี้ ผู้เขียนค้นข้อมูลเพิ่มเติมและพบรูปว่าวตัวเล็กที่ใช้แรง

จากพัดลม

เมื่อผู้เขียนได้ทดลองทำ

�ว่าวตัวเล็กและใช้พัดลมเป่า พบว่า

ลมหมุนจากพัดลมไม่ช่วยให้ว่าวตัวเล็กลอยได้ตามที่คิดไว้ ว่าว

ตัวเล็กที่ทำ

�ขึ้นอาจยังไม่ดีพอ ณ จุดนี้ ดูเหมือนว่า เราสามารถเริ่ม

กระบวนการเทคโนโลยี ในขั้นกำ

�หนดป

ญหาหรือความต

องการ ได้

แล้ว ปัญหาคือ จะทำ

�อย่างไรให้ว่าวตัวเล็กลอยอยู่ได้ด้วยแรงลมจาก

พัดลม นอกจากนี้อาจมองไปถึงกระบวนการเทคโนโลยีขั้นอื่นได้ด้วย

เช่น ขั้นออกแบบและปฏิบัติการ ทำ

�ได้แน่นอน เพราะมีหลายปัจจัยที่

เกี่ยวข้องกับการลอยได้ของว่าวให้ทดลองปรับเปลี่ยนได้ เช่น ทำ

�ให้

ตัวเล็กลงกว่าเดิม เปลี่ยนชนิดของกระดาษ เปลี่ยนชนิดและความ

ยาวของเชือก เปลี่ยนตำ

�แหน่งหรือวิธีการผูกเชือกติดกับตัวว่าว ต่อ

มาได้ค้นพบว่าวิธีการแก้ไขปัญหาอาจทำ

�ได้ง่าย ๆ ด้วยการปรับที่

พัดลม ไม่ใช่ที่ตัวว่าว ดังรูป