Previous Page  15 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 15 / 62 Next Page
Page Background

รูปที่ 6 ส่วนประกอบของไซโคลทรอน

ถ้าไอออนมวล

m

ประจุ

q

เคลื่อนที่จากแหล่งก�

ำเนิดด้วย

ความเร็ว

v

เข้าไปในกล่อง

D

ในทิศ ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก

B



เส้นทางการเคลื่อนที่ของไอออนจะเป็นส่วนโค้งของวงกลมรัศมี

r

แรงที่กระท�

ำต่อไอออน

F



เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง ซึ่งมีขนาดดังนี้

F

2

mv

qvB

r

= =

(6)

ศักย์ระหว่างกล่อง

1

D

และ

2

D

จะเปลี่ยนพอดีขณะที่ไอออน

ก�

ำลังผ่านช่องว่างระหว่าง

1

D

และ

2

D

ไอออนจึงถูกเร่งให้มี

ความเร็วเพิ่มขึ้น เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่จากกล่อง

1

D

ข้าม

ช่องว่างไปยังกล่อง

2

D

เท่ากับครึ่งคาบของกระแสสลับ เพื่อ

พอดีกับศักย์ของ

1

D

หรือ

2

D

เปลี่ยนค่า ดังนั้นรัศมีของการ

เคลื่อนที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ

ถ้า

R

เป็นรัศมีของกล่อง

D

m

v

เป็นความเร็วมากที่สุดของไอออน

m

r

เป็นรัศมีมากที่สุดของไอออน โดย

m

r R

=

จากสมการ (6) จะได้

m

qv B

2

m

mv

R

=

m

mv

qBR

=

km

E

2 2 2

2

1

1

2

2

m

q B R

mv

m

=

=

(7)

เมื่อ

km

E

เป็นพลังงานจลน์สูงสุดของไอออนที่เคลื่อนที่

ออกจากกล่อง

D

จะเห็นได้ว่า

km

E

เป็นปฏิภาคกับ

2

R

ถ้า

V

เป็นศักย์เฉลี่ยของแหล่งก�

ำเนิดกระแสสลับ

n

เป็นจ�

ำนวนรอบสูงสุดของไอออนที่ถูกเร่งจนมี

ความเร็วสูงสุด

ถ้าไอออนเคลื่อนที่แค่ครึ่งรอบ จะได้รับพลังงานเพิ่มขึ้น

qV

และถ้าไอออนเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ ไอออนจะได้รับพลังงาน

เพิ่มขึ้นเป็น

2

qV

เมื่อไอออนเคลื่อนที่ครบ

n

รอบไอออนจะ

มีพลังงานจลน์สูงสุดดังนี้

km

E

2

nqV

=

จะเห็นได้ว่า พลังงานจลน์สูงสุดของไอออนเป็นค่าที่ขึ้น

กับจ�

ำนวนรอบ

n

หรือรัศมีของกล่อง

D

คือ

R

ไอออนที่มี

พลังงานจลน์สูงสุดนี้จะถูกส่งไปยังนิวเคลียสของเป้า

ถ้า

เป็นความถี่เชิงมุมของไอออนที่เคลื่อนที่แนววงกลม

f

เป็นความถี่ของแหล่งก�

ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับและ

T

เป็น

คาบของแหล่งก�

ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ จะได้

v

r

=

จากสมการ (6)

v

r

qB

m

=

ดังนั้น

qB

m

=

(9)

แต่

2

f

ดังนั้น

f

2

2

qB

n

(10)

และ

2

T

1

2

f

=

m

qB

(11)

2

T

เป็นเวลาที่ไอออนใช้ในการเคลื่อนที่ในกล่อง

1

D

ข้าม

ช่องว่างไปยังกล่อง

2

D

ซึ่งเท่ากับเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่จาก

กล่อง

2

D

ข้ามช่องว่างไปยังกล่อง

1

D

ด้วย

ไซโคลทรอนสามารถใช้เร่งเฉพาะอนุภาคที่มีประจุบวก ได้แก่

โปรตอน ดิวเทอรอน และอนุภาคแอลฟา โดยพลังงานจลน์สูงสุด

ของอนุภาคที่ถูกเร่งมีค่าต่างกัน

ไซโคลทรอนที่ใหญ่ที่สุดในโลกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 18

เมตร คือเครื่อง TRIUMF (Tri-University Meson Facility) ที่

ห้องปฏิบัติการแคนาเดียนส�

ำหรับอนุภาคและนิวเคลียร์ฟิสิกส์

(TRIUMF, the Canadian lab for particle and nuclear

physics) ไซโคลทรอน TRIUMF เริ่มท�

ำงานเมื่อปี พ.ศ. 2517

โปรตอนที่ถูกเร่งในไซโคลทรอนเครื่องนี้เคลื่อนที่เป็นระยะทาง

45 กิโลเมตร แล้วจึงเคลื่อนที่เป็นวงกลม โดยมีพลังงานค่อย ๆ

เพิ่มขึ้นจนถึงสูงสุด 520 MeV หรือมีอัตราเร็วสูงสุด 3 ใน 4

ของอัตราเร็วของแสง ซึ่งท�

ำให้โปรตอนเคลื่อนที่จากโลกไปถึง

ดวงจันทร์ภายในเวลา 2 วินาที

ผู้อ่านสามารถดูวิดีโอคลิปเรื่อง “กิจกรรมเร่งมอดูลอ้ายของ

สสวท.” ผ่าน e-magazine ของบทความนี้ได้ครับ

15

ปีที่ 42 ฉบับที่ 187 มีนาคม - เมษายน 2557