Previous Page  18 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 18 / 62 Next Page
Page Background

18

นิตยสาร สสวท.

การค้นพบดังกล่าวนี้

อาร์คิมีดีส (Archimedes)

นักปราชญ์ชาวกรีกเป็นผู้ค้นพบธรรมชาติของแรงพยุง และได้เสนอหลัก

การเกี่ยวกับการลอยและการจมของวัตถุ ซึ่งเรียกว่า

หลักอาร์คิมีดีส (Archimedes’ principle) คือ วัตถุที่จมในของเหลว

หมดทั้งก้อนหรือจมแต่เพียงบางส่วนจะถูกแรงพยุงกระท�

ำ และแรงพยุงจะเท่ากับน�้

ำหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุนั้นแทนที่

ความเข้าใจเกี่ยวกับแรงพยุงท�

ำให้เราอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงต่าง ๆ ที่กระท�

ำต่อวัตถุที่อยู่ในน�้

ำได้ เช่น ตัวอย่างค�

ำถาม

เกี่ยวข้องกับการทดลองหาค่าแรงพยุง ดังนี้

1. น�้

ำหนักแท่งเหล็กในอากาศและน�้

ำหนักแท่งเหล็กในน�้

ำเท่ากันหรือไม่ อย่างไร

2. เมื่อแท่งเหล็กจมมิดน�้

ำ น�้

ำที่ล้นออกมาหรือน�้

ำที่ถูกแท่งเหล็กแทนที่มีปริมาตรเท่าใด

3. น�้

ำที่ล้นออกมามีน�้

ำหนักเท่าใด

4. น�้

ำหนักของน�้

ำที่ล้นออกมา เท่ากับส่วนต่างของน�้

ำหนักแท่งเหล็กในอากาศกับน�้

ำหนักแท่งเหล็กในน�้

ำหรือไม่

ตัวอย่างค�

ำถามที่เกี่ยวข้องกับแรงพยุง เช่น

1. ผูกแท่งเหล็กมวล 500 กรัม ด้วยเชือกเส้นเล็กและเหนียว ปล่อยให้แท่งเหล็กจมอยู่ในน�้

ำซึ่งบรรจุอยู่ในบีกเกอร์ ขนาด

1000 cm

3

ถ้าปล่อยให้แท่งเหล็กจมจนแตะก้นบีกเกอร์

- แรงพยุงของน�้

ำมีค่าเท่าไร

- แรงดึงของเชือกมีค่าเท่าไร

2. ถ้ามีเรือ 1 ล�

ำ ลอยนิ่งในน�้

ำนิ่ง แรงต่าง ๆ ที่กระท�

ำต่อเรือมีแรงอะไรบ้าง และออกแรงอย่างไร และถ้ามีคน 1 คน ลงไป

ในเรือ เรือก็ยังคงลอยนิ่งอยู่ได้ แรงที่กระท�

ำต่อเรือมีแรงอะไรบ้าง และกระท�

ำอย่างไร

3. เด็กคนหนึ่งสวมห่วงยางแล้วลงเล่นน�้

ำ ขณะที่เขาลอยนิ่งอยู่ในน�้

ำโดยศีรษะและคอลอยอยู่เหนือผิวน�้

ำ แต่แขนและมือจับ

ที่ห่วงยาง ถามว่า

- ร่างกายของเด็กถูกแรงอะไรกระท�

ำบ้าง อย่างไร

- ห่วงยางถูกแรงอะไรกระท�

ำบ้าง อย่างไร

คำ

�ถามต่าง ๆ ที่กล่าวมานี้เป็นเพียงตัวอย่างเบื้องต้นที่จะช่วยให้เข้าใจ อธิบาย ตลอดจนตอบคำ

�ถามที่เกี่ยวกับแรงพยุง

ได้ ต่อไปอาจได้พบความเกี่ยวข้องของแรงพยุงกับประเด็นสำ

�คัญอื่น ๆ อีก เพราะแรงพยุงมิได้เกิดขึ้นเพียงวัตถุที่สัมผัสกับ

น้ำ

�และอากาศเท่านั้น ยังมีสารอื่นที่เกี่ยวข้องกับแรงพยุงอยู่อีกมาก

บรรณานุกรม

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551).

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�

ำกัด.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ. (2554).

หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์

เล่ม 4

. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.