

21
ปีที่ 42 ฉบับที่ 187 มีนาคม - เมษายน 2557
(ที่มา:
http://www.youtube.com/watch?v=X5VDkyNOFB8)
(ที่มา: หนังสือ ลมเย็นเล่นว่าว สำ
�นักพิมพ์ก้อนเมฆ
http://www.cloudbookclub.com/catalog5.htm)
ในขณะที่กำ
�ลังจะลองทำ
�ต่อ ผู้เขียนพลันนึกขึ้นมาได้ว่า เด็กประถมอาจจะ
ไม่สนุก สู้ได้จับเชือกเอง ได้เล่นว่าวของตัวเองในสนาม คงเป็นอะไรที่สนุกกว่า
กิจกรรมในห้องเรียนมาก ผู้เขียนจึงคิดว่า กิจกรรมทำ
�ว่าวกันเถอะ จะต้องหา
ว่าวที่ทำ
�ได้ง่าย ๆ เพื่อให้เด็กทุกคนประสบความสำ
�เร็จในการทำ
�ว่าวของตัวเอง
และได้สนุกกับการเล่นว่าวนอกห้องเรียนจริง ๆ ผู้เขียนพบวิธีทำ
�ว่าวอย่างง่ายที่
เว็บไซต์
http://sci4fun.com/kite/easykite/easykite.htmlซึ่งได้แนะนำ
�วิธี
ทำ
�ว่าวจากกระดาษ A4 ไม้เสียบลูกชิ้น และเทปกาว ผู้เขียนได้ทดลองทำ
�ตาม
และทดสอบว่าวในวันที่มีลมอ่อน ๆ ว่าวขึ้นได้ดี ผู้เขียนดีใจมาก และรู้ทันทีว่า
เด็ก ๆ คงรู้สึกเช่นเดียวกัน พวกเขาต้องดีใจมากในวินาทีแรกที่เห็นว่าวของตัว
เองลอยขึ้น ดังสโลแกนที่ว่า The best kites for kids are the ones they
make themselves!
แนวการจัดกิจกรรม
คล้ายกับ
กิจกรรมแรก โดยดำ
� เนินการตาม
กระบวนการเทคโนโลยี ครูเริ่มต้นด้วย
การเล่าเรื่องประวัติความเป็นมาของว่าว
(แนะนำ
�ให้อ่านเอกสารเรื่อง ว่าวไทย
http://www.finearts.go.th/system/files/old_photo54-2.pdf ) หรือนำ
�
เสนอภาพการ์ตูนพร้อมคำ
�คล้องจองตาม
หนังสือ ลมเย็นเล่นว่าว
(ที่มา: หนังสือ ลมเย็นเล่นว่าว สำ
�นักพิมพ์ก้อนเมฆ
http://www.cloudbookclub.com/catalog5.htm)
และที่ดีที่สุดคือ ครูเล่นว่าวที่ครูทำ
�เองให้เด็กดู จากนั้นชวนเด็ก ๆ ทำ
�ว่าวของตัวเอง ระหว่างการทำ
�กิจกรรม เด็กอาจทดลอง
ปรับเปลี่ยนรูปร่างของว่าวเป็นรูปเรขาคณิตชนิดอื่น ๆ ทั้งสองมิติและสามมิติ กิจกรรมตามขั้นของกระบวนการเทคโนโลยีเป็นไปได้
หลายแนวทาง จนสุดท้ายเด็ก ๆ ได้เล่นว่าว และเขียนคู่มือการทำ
�ว่าวและการเล่นว่าว ส่งให้ครูตรวจประเมินได้