

9
ป
ที่ 42 ฉบับที่ 187 มีนาคม - เมษายน 2557
ผลการทดลองเป
นอย่างไร ?
ผลการทดลองเป็นดังภาพที่ 4 คือ เกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้ขึ้นในกล่องอะคริลิก และพบว่า มีตะกอนสีขาวขุ่นที่ก้นของ
บีกเกอร์ที่ใส่สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ซึ่งก็คือแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO
3
) ดังนั้นจึงเป็นการพิสูจน์ได้ว่าสารผลิตภัณฑ์
ที่เกิดจากปฏิกิริยาการเผาไหม้ คือ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เนื่องจากสามารถท�
าปฏิกิริยากับสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์
จนเกิดตะกอนของแคลเซียมคาร์บอเนต ดังสมการต่อไปนี้
Ca(OH)
2
(aq) + CO
2
(g)
→
CaCO
3
(s) + H
2
O (l)
สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ + แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
→
แคลเซียมคาร์บอเนต + น�้
า
การทดลองที่ 3 : การทดสอบ CO
2
ด้วย Bromothymol
Blue (BTB)
อุปกรณ์
(1) ชุดกล่องอะคริลิก (
Æ
= 11 cm., h = 21 cm.)
(2) กรวยพลาสติก (ด้านบน
Æ
= 11 cm., h = 9 cm.,
ด้านล่าง
Æ
= 5 cm., h = 5 cm.)
(3) สายยางพลาสติก (l = 50 cm.)
(4) ปืนจุดแก๊ส
(5) ที่สูบลม
(6) แป้งมันส�
าปะหลัง
(7) หลอดแก้ว
(8) ขวดรูปชมพู่ (250 cm
3
)
(9) สารละลายบรอมไทมอลบลู ปริมาตร 150 cm
3
ภาพที่ 4 การทดสอบแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยสารละลายแคลเชียมไฮดรอกไซด์
วิธีการทดลอง
1. จัดอุปกรณ์ ดังภาพที่ 2
2. น�
าหลอดแก้วด้านหนึ่งต่อเข้ากับกรวยพลาสติก
(ด้านบน) และอีกด้านหนึ่งจุ่มลงในบีกเกอร์
ที่ใส่สารละลายบรอมไทมอลบลู
3. จุดปืนจุดแก๊ส และสูบลมเข้าไปในกล่องอะคริลิก
อย่างรวดเร็ว สังเกตผลที่เกิดขึ้น
ผลการทดลองเป
นอย่างไร ?
ผลการทดลองเป็นดังภาพที่ 5 คือ เกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้
ขึ้นในกล่องอะคริลิก และพบว่า สีของสารละลายบรอมไทมอลบลู
เปลี่ยนจากสีฟ้าเป็นสีเขียว เนื่องจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ท�
าปฏิกิริยากับน�้
า (H
2
O) เป็นกรดคาร์บอนิก (H
2
CO
3
) ซึ่ง
สารละลายบรอมไทมอลบลูเป็นอินดิเคเตอร์ที่มีค่า pH สูงกว่า
7 ดังนั้นเมื่อสารละลายในบีกเกอร์เป็นกรดที่มีค่า pH ต�่
ากว่า
6 จึงท�
าให้สารละลายเปลี่ยนสีได้ ดังสมการต่อไปนี้
(1)
ปฏิกิริยาการเผาไหม้
(2) สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (3) ตะกอนของแคลเซียมคาร์บอเนต