Previous Page  8 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 8 / 62 Next Page
Page Background

8

นิตยสาร สสวท.

การทดลองที่ 2 : การทดสอบ CO

2

ด้วย Ca(OH)

2

อุปกรณ์

(1) ชุดกล่องอะคริลิก (

Æ

= 11 cm., h = 21 cm.)

(2) กรวยพลาสติก (ด้านบน

Æ

= 11 cm., h = 9 cm.,

ด้านล่าง

Æ

= 5 cm., h = 5 cm.)

(3) สายยางพลาสติก (l = 50 cm.)

(4) ปืนจุดแก๊ส

(5) ที่สูบลม

(6) แป้งมันส�

ำปะหลัง

(7) หลอดแก้ว

ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นได้อย่างไร ?

ปฏิกิริยาการเผาไหม้นี้เกิดขึ้นได้เนื่องจากปัจจัยที่ส�

ำคัญ 3

ประการ ได้แก่

(1) อนุภาคขนาดเล็กของแป้งมันส�

ำปะหลัง (เชื้อเพลิง) ซึ่ง

พบว่าโครงสร้างของแป้งมันส�

ำปะหลังจะมีอะไมโลส (amylose)

เป็นส่วนประกอบอยู่ร้อยละ 17.44 โดยอะไมโลส จัดเป็น

คาร์โบไฮเดรตประเภทฮอมอพอลิแซ็กคาไรด์ (homopolysac-

charide) ที่มีโมเลกุลของน�้

ำตาลกลูโคสหลาย ๆ โมเลกุลเชื่อม

ต่อกันด้วยพันธะไกลโคไซด์

(2) อากาศที่แห้ง (แก๊สออกซิเจน)

(3) ความร้อน (ไฟ)

ดังนั้นสารที่สามารถน�

ำมาใช้เป็นสารตั้งต้นของปฏิกิริยานี้

ได้ คือ สารที่มีกลูโคสเป็นส่วนประกอบ เช่น แป้งมันส�

ำปะหลัง

เพราะกลูโคสจะท�

ำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนจนได้ผลิตภัณฑ์

เป็นน�้

ำและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เรียกว่า ปฏิกิริยาการเผา

ไหม้ (combustion reaction) โดยในระหว่างการจัดกิจกรรม

การเรียนรู้ ผู้สอนควรที่จะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้อภิปรายเกี่ยวกับ

สามเหลี่ยมไฟ (fire triangle) ซึ่งประกอบด้วย เชื้อเพลิง (fuel)

แก๊สออกซิเจน (oxygen) และความร้อน (heat)

ตัวอย่างกิจกรรมแป้งมันส�

ำปะหลังนี้ สามารถส่งเสริมให้

ผู้เรียนเกิดการเชื่อมโยงแนวคิดเรื่องปฏิกิริยาการเผาไหม้ กับ

แนวคิดเรื่องอื่น ๆ ได้ เช่น อัตราเร็วของการเกิดปฏิกิริยา (การ

เปลี่ยนชนิดของสารตั้งต้นจากแป้งมันส�

ำปะหลังเป็นสารชนิด

อื่น เช่น น�้

ำตาลไอซ์ซิ่ง หรือผงวุ้น จะท�

ำให้อัตราเร็วของการ

เกิดปฏิกิริยาแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร) และการดุลสมการ

ภาพที่ 3 การเกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้ในชุดอุปกรณ์แป้งมันส�

ำปะหลัง

(เชื่อมโยงกับหลักการดุลสมการของปฏิกิริยาการเผาไหม้และ

การอธิบายกฎทรงมวลของสาร) โดยปฏิกิริยาการเผาไหม้ที่เกิด

ขึ้น เป็นดังสมการต่อไปนี้

C

6

H

12

O

6

(s) + 6O

2

(g)

6CO

2

(g) + 6H

2

O(g)

กลูโคส + แก๊สออกซิเจน

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + น�้

(8) ขวดรูปชมพู่ (250 cm

3

)

(9) สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)

2

)

ปริมาตร 150 cm

3

วิธีการทดลอง

1. จัดอุปกรณ์ ดังภาพที่ 2

2. น�

ำหลอดแก้วด้านหนึ่งต่อเข้ากับกรวยพลาสติก

(ด้านบน) และอีกด้านหนึ่งจุ่มลงในบีกเกอร์

ที่ใส่สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ (Ca(OH)

2

)

3. จุดปืนจุดแก๊ส และสูบลมเข้าไปในกล่องอะคริลิก

อย่างรวดเร็ว สังเกตผลที่เกิดขึ้น