

41
ปีที่ 42 ฉบับที่ 190 กันยายน- ตุลาคม 2557
บรรณานุกรม
International Technology and Engineering Educators Association (ITEEA). (2007). Standard for Technology
Literacy. Retrieved May 22, 2014, from
http://www.iteea.org/TAA/Publications/TAA_Publications.htmlMuseum of Science, Boston. (2014). Engineering in Elementary. Retrieved May 23, 2014, from
http://www.eie.org/National Research Council (NRC). (2012).
A Framework for K-12 Science Education: Practices, Crosscutting
Concepts, and Core Idea.
Committee on a Conceptual Framework for New K-12 Science Education, Division
of Behavioral and Social Sciences and Education. Washington, DC : The National Academies Press.
NSW Department of Education and Communities. (2011). Designing and Producing K-12 : Technology process.
Retrieved May 23, 2014, from
http://www.curriculumsupport. education.nsw.gov.au/designproduce/tech_process.htmสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ. (2554).
หนังสือเสริมการเรียนรู้ การออกแบบและ
เทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
กระบวนการเทคโนโลยี
บทบาทผู้สอน
บทบาทผู้เรียน
ขั้นปรับปรุงแก้ไข
เป็นขั้นวิเคราะห์ข้อมูลการทดสอบเพื่อหาจุดที่ควร
แก้ ไขและแนวทางการปรับปรุงแก้ ไข แล้ วจึงท�
ำ
การปรับปรุงแก้ไขในส่วนนั้นจนกระทั่งได้ชิ้นงานหรือ
วิธีการสอดคล้องตามรูปแบบที่ออกแบบไว้ และสามารถ
ท�
ำงานหรือใช้งานได้ ถ้าหากพบว่าชิ้นงานหรือวิธีการ
ไม่เป็นไปตามรูปแบบที่ออกแบบไว้ ยังคงท�
ำงานหรือ
ใช้งานไม่ได้ควรกลับไปออกแบบและปฏิบัติการ หรือ
กลับไปรวบรวมข้อมูลและเลือกวิธีการที่เหมาะสมใหม่
อีกครั้ง
• จัดเตรียมสื่อและแหล่งเรียนรู้ส�
ำหรับการรวบรวม
ข้อมูลเพื่อใช้ปรับปรุงแก้ไขชิ้นงาน
• ให้ค�
ำแนะน�
ำและร่วมวิเคราะห์ข้อมูลจากการตรวจสอบ
ทดสอบการท�
ำงานของชิ้นงาน รวมทั้งแนวทาง
การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง
• ให้ค�
ำแนะน�
ำหากต้องย้อนกลับไปปรับปรุงแก้ไข
ในขั้นตอนต่าง ๆ เช่น การย้อนกลับไปรวบรวมข้อมูล
อีกครั้ง หรือเลือกวิธีการใหม่ หรือออกแบบและ
ปฏิบัติการอีกครั้ง
• วิเคราะห์ข้อมูลจากการตรวจสอบ ทดสอบการ
ท�
ำงานของชิ้นงาน
• ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง เพื่อให้ได้ชิ้นงานตามที่
ออกแบบไว้
ขั้นประเมินผล
เป็นขั้นน�
ำชิ้นงานหรือวิธีการไปแก้ปัญหาหรือสนอง
ความต้องการ และประเมินผลว่าชิ้นงานหรือวิธีการ
สามารถแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการได้หรือไม่
หากการประเมินผลพบว่ าชิ้นงานหรือวิธีการไม่
สามารถแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการได้ ควรกลับ
ไปพิจารณาวิธีการต่าง ๆ ตั้งแต่ขั้นรวบรวมข้อมูลและ
ตัดสินใจเลือกวิธีการเพื่อเข้าสู่กระบวนการเทคโนโลยี
ใหม่อีกครั้งหนึ่งหรืออาจย้อนกลับไปยังขั้นออกแบบ
และปฏิบัติการเพื่อออกแบบวิธีการแก้ ปัญหาหรือ
สนองความต้องการใหม่ ซึ่งการย้อนกลับไปปฏิบัติ
งานในขั้นตอนต่าง ๆ ของกระบวนการเทคโนโลยี
ผู้ปฏิบัติงานสามารถย้อนกลับไปยังขั้นตอนใดขึ้นอยู่กับ
สถานการณ์ที่ประสบ
• อ�
ำนวยความสะดวกให้ผู้เรียนในการน�
ำชิ้นงานไป
แก้ปัญหาหรือความต้องการ
• ร่วมสรุปองค์ความรู้จากการแก้ปัญหาหรือสนอง
ความต้องการ
• ให้ข้อเสนอแนะส�
ำหรับการพัฒนาชิ้นงานในอนาคต
และกรณีที่ชิ้นงานไม่สามารถแก้ปัญหาหรือสนอง
ความต้องการได้
• น�
ำชิ้นงานไปแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ และ
ประเมินผลว่า ชิ้นงานที่สร้างขึ้นสามารถแก้ปัญหา
หรือสนองความต้องการภายใต้สถานการณ์เทคโนโลยี
ความท้าทาย ข้อจ�
ำกัดและทรัพยากรที่มีอยู่หรือไม่ อย่างไร
พร้อมทั้งบันทึกผลเพื่อใช้เป็นข้อมูลส�
ำหรับการพัฒนา
ชิ้นงานต่อไป
• น�
ำเสนอผลงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้