Previous Page  42 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 42 / 62 Next Page
Page Background

42

นิตยสาร สสวท.

สมนึก บุญพาไสว

ผู้ช�

ำนาญ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษาตอนต้น สสวท.

รอบรู้เทคโนโลยี

GSP

ส�

ำหรับคนเป็น

ตอน

จะอยู่กลุ่มไหนดี

จะเริ่มอย่างไร

เราสามารถใช้โปรแกรม The geometer’s sketchpad (GSP)

สร้างแบบจ�

ำลองเพื่อท�

ำกิจกรรมการแบ่งกลุ่มให้มีชีวิตชีวาได้

เช่นกัน แต่ไม่ได้หมายความว่าใช้แบบจ�

ำลองจากโปรแกรม GSP

แล้วจะท�

ำให้นักเรียนเข้าใจเรื่องการหารดีกว่าวิธีอื่น นั่นเป็นเรื่องที่

ไม่น่าจะเป็นไปได้ เพียงแต่ท�

ำให้มีสื่อการสอนที่หลากหลายมากขึ้น

GSP ส�

ำหรับคนเป็น (คนที่ใช้โปรแกรม GSP เป็นมาบ้างแล้ว)

ตอนจะอยู่กลุ่มไหนดี มีจุดมุ่งหมายที่ส�

ำคัญก็คือให้ผู้อ่าน (ที่ลงมือ

ปฏิบัติ) มีแนวคิดและสามารถประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์ในการ

สร้างสื่อการสอนด้วยโปรแกรม GSP ไม่ใช่การมีสื่อการสอน

สื่อการสอนเป็นเพียงผลพลอยได้เท่านั้น

แนวคิดในการเริ่มต้นสร้างสื่อการสอนสักชิ้นด้วย GSP เรา

ต้องจินตนาการก่อนว่าสื่อของเราควรจะมีรูปร่างหน้าตาเป็น

อย่างไร ท�

ำงานอย่างไร จะใช้สอนแบบไหน ฯลฯ แล้วแต่ว่าใคร

จะจินตนาการแบบไหน ส�

ำหรับตอนนี้ขออนุญาตชี้น�

ำการ

จินตนาการให้ไปในทางเดียวกันก่อน เพื่อจะได้อ่านแล้วรู้เรื่อง

(หวังไว้อย่างนั้น) สมมติว่ามีจุดอิสระอยู่ในแบบร่าง

จ�

ำนวนหนึ่ง

จุดเหล่านั้นก�

ำลังเคลื่อนไหวแบบสุ่ม ครูอาจถามนักเรียนว่า

ถ้าจุดที่ก�

ำลังเคลื่อนที่แบบสุ่มนั้นเคลื่อนที่เข้ารวมกันเป็นกลุ่ม

กลุ่มละ 3 จุด

จะได้ทั้งหมดกี่กลุ่ม ให้นักเรียนเขียนค�

ำตอบของ

ตัวเองลงบนกระดาษ แล้วครูก็คลิกปุ่มแสดงการท�

ำงานเพื่อเฉลย

จากนั้นก็ท�

ำแบบเดิมแต่เปลี่ยนจ�

ำนวนจุดที่อยู่ในแต่ละกลุ่ม

รูปที่ 1

การหารเป็นการด�

ำเนินการทางเลขคณิตซึ่งปกติจะสอนเป็นเรื่อง

สุดท้ายสิ่งที่นักเรียนต้องรู้เป็นอย่างดีก่อนเรียนเรื่องการหารคือการบวก

การลบและสูตรคูณ ส�

ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่เริ่มเรียนเรื่อง

การหารครูจะต้องสอนให้นักเรียนเข้าใจความหมายของการหารที่อิงการลบ

ออกครั้งละเท่าๆกันหรือการจัดเป็นกลุ่มกลุ่มละเท่าๆกันอาจให้นักเรียน

ใช้ดินสอเขียนเส้นล้อมรอบรูปภาพ หรือระบายสีรูปภาพในใบงาน

เป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน แล้วแต่ครูจะก�

ำหนด บางคนอาจจะใช้ก้อนหิน

หรือเมล็ดพืชเป็นสื่อการสอนในการท�

ำกิจกรรมก็ได้