

48
นิตยสาร สสวท.
กระบวนการประเมินความต้องการจ�
ำเป็นที่จะท�
ำให้ได้ข้อมูล
สารสนเทศครอบคลุมประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ
• การระบุความต้องการจ�
ำเป็น
• การวิเคราะห์หาสาเหตุ
• การก�
ำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหา
หากด�
ำเนินการครบทั้ง 3 ขั้นตอนนี้เรียกว่าเป็นการประเมิน
ความต้องการจ�
ำเป็นแบบสมบูรณ์ (complete needs assessment
research) การศึกษาด้วยวิธีการประเมินความต้องการจ�
ำเป็น
จะท�
ำให้ได้ผลลัพธ์ที่น�
ำไปสู่การพัฒนา อีกทั้งยังสามารถใช้
ประโยชน์ จากผลที่ได้ ทั้งในเชิงนโยบายและการปฏิบัติ
ขอบเขตการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้ได้ศึกษากับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นครูวิทยาศาสตร์
ครูคณิตศาสตร์และครูเทคโนโลยี ทุกช่วงชั้นจากโรงเรียนทุกสังกัด
ทั่วประเทศ โดยใช้เทคนิคการสุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota
sampling) ทั้งนี้ได้สุ่มหน่วยตัวอย่างจากรายชื่อโรงเรียนที่เข้าร่วม
การทดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 ส�
ำหรับสมรรถนะในการ
พัฒนาครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
ประกอบด้วยสมรรถนะ 7 ด้าน ได้แก่
(1) ด้านการจัดท�
ำหลักสูตรสถานศึกษา
(2) ด้านการเขียนแผน/ออกแบบการจัดการเรียนรู้
(3) ด้านเทคนิคการจัดการเรียนรู้
(4) ด้านการวัดผลประเมินผล
(5) ด้านสื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้
(6) ด้านการวิจัยในชั้นเรียน
(7) ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
ในการศึกษาครั้งนี้ ค�
ำนวณดัชนีความต้องการจ�
ำเป็นโดยใช้วิธี
PNIModified วิเคราะห์สาเหตุและแนวทางแก้ไขโดยการวิเคราะห์
โมเดลลิสเรล
ครูส่วนใหญ่จ�
ำเป็นต้องได้รับการพัฒนาด้านใดเป็นล�
ำดับแรก
ผลการวิจัยพบว่า ครูส่วนใหญ่จ�
ำเป็นต้องได้รับการพัฒนา
สมรรถนะด้านการวิจัยในชั้นเรียน เป็นล�
ำดับแรก (ดังภาพที่ 1)
ผลการวิจัยดังกล่ าวสะท้ อนให้ เห็นว่ าครูวิทยาศาสตร์
ครูคณิตศาสตร์ และครูเทคโนโลยีส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจ
ในการท�
ำวิจัยในชั้นเรียนที่ถูกต้อง ครูอาจไม่ทราบแน่ชัดว่าการวิจัย
ในชั้นเรียนคืออะไรมีกระบวนการท�
ำวิจัยในชั้นเรียนอย่างไร จะเริ่มต้น
จากตรงไหน แต่จะด้วยเหตุผลใดก็ตาม หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือ
แม้กระทั่งตัวคุณครูเองควรต้องตระหนักถึงความส�
ำคัญของการวิจัย
ในชั้นเรียนและเร่งพัฒนาให้ครูสามารถท�
ำวิจัยในชั้นเรียนได้อย่าง
มีคุณภาพเพื่อให้ครูได้น�
ำผลการวิจัยไปปรับใช้กับการเรียนการสอน
ให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ดังในประเทศฟินแลนด์ซึ่งถือว่าเป็น
ประเทศหนึ่งที่มีระบบการศึกษาดีที่สุดในโลกเนื่องจากมีผลคะแนน
จากโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA) สูงทั้งด้านการอ่าน
วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ตั้งแต่ปี 2000 เป็นต้นมา และจากการ
จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของเวิลด์
อีโคโนมิกฟอรัม (World Economic Forum) ปี 2013 ฟินแลนด์
อยู่ในอันดับที่ 3 รองจากสวิตเซอร์แลนด์และสิงคโปร์ เมื่อศึกษาและ
วิเคราะห์การจัดการศึกษาในฟินแลนด์พบว่าปัจจัยส�
ำคัญอย่างหนึ่งที่
ท�
ำให้การศึกษาของประเทศนี้ประสบความส�
ำเร็จสูงคือ ครูใช้การวิจัย
เป็นพื้นฐานในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ (สุภกร บัวสาย, 2556)
ดังนั้น ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาครูควรให้ความส�
ำคัญด้าน
การท�
ำวิจัยในชั้นเรียน โดยท�
ำความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบหรือ
กระบวนการพัฒนาครูที่เน้นให้ครูเกิดทักษะการท�
ำวิจัยในชั้นเรียน
ซึ่งเน้นให้มีการปฏิบัติและมีผู้ให้ค�
ำปรึกษาอย่างจริงจัง
ภาพที่ 1 ความต้องการจ�
ำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพส�
ำหรับครูวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี