

24
นิตยสาร สสวท.
ขั้นที่ 6 ปรับปรุงแก้ไข
นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันเพื่อปรับปรุงให้ได้
น�้
ำสับปะรดที่มีรสชาติที่ดีขึ้น นอกจากนี้พิจารณาถึงปริมาณ
น�้
ำสับปะรดว่าได้ตามเกณฑ์ที่ก�
ำหนดหรือไม่ ถ้าไม่ได้จะเพิ่มเติม
หรือปรับลดได้อย่างไร โดยให้คงรสชาติของน�้
ำสับปะรดตามต้องการ
ขั้นที่ 7 ประเมินผล
ในขั้นนี้ ครูผู้สอนจะเป็นผู้ประเมินผลงานของแต่ละกลุ่มตาม
เกณฑ์ที่ก�
ำหนด ในที่นี้จะพิจารณาใน 3 ส่วนดังนี้
- ได้น�้
ำสับปะรดอย่างน้อย 4 ขวด แต่ไม่เกิน 6 ขวด
- ขวดน�้
ำสับปะรดมีฉลากแสดงวันผลิต ประโยชน์ ส่วนผสม
ของน�้
ำสับปะรด (เป็นร้อยละ) และปริมาตรสุทธิ ได้อย่างถูกต้อง
- ราคาขายต่อขวด มีก�
ำไรไม่เกินร้อยละ 50 ของต้นทุนการผลิต
ครูให้แต่ละกลุ่มออกมาน�
ำเสนอผลงาน แสดงรายละเอียดของ
ต้นทุนการผลิต และที่มาของราคาขาย ทั้งนี้น�้
ำสับปะรดที่ท�
ำได้
มีการให้เพื่อนต่างกลุ่มทดลองชิมรสชาติและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ซึ่งกันและกัน
3. กิจกรรมสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปประเด็นและ
ความรู้ที่ได้จากการท�
ำน�้
ำสับประรด เช่น
- การท�
ำน�้
ำสับปะรดมีขั้นตอนกระบวนการอย่างไร
- นักเรียนมีวิธีการสืบค้นข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ตอย่างไร
- การตั้งราคาขาย ควรค�
ำนึงถึงอะไรบ้าง อย่างไร
- ฉลากมีความส�
ำคัญอย่างไร และฉลากควรมีข้อมูลอะไรบอก
ผู้บริโภคบ้าง
จะเห็นว่ากิจกรรมท�
ำน�้
ำสับปะรดเป็นกิจกรรมบูรณาการที่
นักเรียนได้เรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องการชั่ง การตวง ความจุและ
ปริมาตร ร้อยละ การซื้อการขายที่กล่าวถึง ต้นทุน ก�
ำไร และ
ขาดทุน ส�
ำหรับเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์ และออกแบบ
เทคโนโลยี) นักเรียนจะได้ใช้คอมพิวเตอร์ในการสืบค้นข้อมูลผ่าน
อินเทอร์เน็ต การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพเพื่อน�
ำมาเป็นส่วนหนึ่ง
ของฉลาก ส�
ำหรับวิศวกรรมศาสตร์นักเรียนจะได้ฝึกการท�
ำงาน
ตามกระบวนการทางวิศวกรรมผ่านการท�
ำน�้
ำสับปะรด ซึ่ง
กระบวนการทางวิศวกรรมจะเป็นพื้นฐานส�
ำคัญที่จะติดตัว
นักเรียนในการน�
ำไปใช้แก้ปัญหาอื่น ๆ ต่อไป
อย่างที่ผู้เขียนเกริ่นน�
ำไว้ตั้งแต่ต้นว่า กิจกรรมท�
ำน�้
ำสับปะรด
เป็นกิจกรรมที่ผู้เขียนน�
ำไปใช้ในการจัดกิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์
ให้กับนักเรียนตั้งแต่ปีพุทธศุกราช 2549 ซึ่งตอนนั้นยังไม่มีใครพูดถึง
STEMกันท�
ำให้การออกแบบกิจกรรมยังไม่ได้มองไปที่วิทยาศาสตร์
จะเห็นว่า ถ้ามีเรื่องวิทยาศาสตร์เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมด้วย
จะท�
ำให้กิจกรรมมีความสมบูรณ์ครบถ้วนมากยิ่งขึ้น ผลผลิตอาจ
จะออกมาได้น่าสนใจมากกว่านี้ก็เป็นได้ ซึ่งในส่วนของวิทยาศาสตร์
อาจให้เพื่อนครูที่สอนวิทยาศาสตร์ช่วยพิจารณาให้ค�
ำแนะน�
ำว่า
น่าจะน�
ำเรื่องใดมาบูรณาการได้บ้าง แล้วครูผู้สอนที่ก�
ำลังอ่านบทความนี้
ลองนึกย้อนไปซิครับว่ามีกิจกรรมใดบ้างที่ท่านเคยท�
ำไว้แล้วที่
เข้าข่ายจะเป็นกิจกรรม STEM ลองน�
ำมาปรับปรุง เพิ่มเติม เพื่อจะ
ให้ได้กิจกรรม STEM ที่ก�
ำลังได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ อันจะ
เป็นประโยชน์กับนักเรียนที่จะได้บูรณาการความรู้ต่าง ๆ เข้าด้วย
กันเพื่อเป็นทักษะส�
ำคัญในการน�
ำไปใช้พัฒนาประเทศต่อไป