Table of Contents Table of Contents
Previous Page  23 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 23 / 62 Next Page
Page Background

ปีที่ 43 ฉบับที่ 192 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2558

23

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

1. กิจกรรมน�

ำเข้าสู่บทเรียน จัดกิจกรรมโดยครูน�

ำน�้

ำสับปะรด

มาให้นักเรียนได้ชิม น�

ำอภิปรายเกี่ยวกับรสชาติ กลิ่น สี และกล่าวถึง

คุณค่าและประโยชน์ของน�้

ำสับปะรด

2. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นช่วงเวลาที่นักเรียนจะได้

สนุกสนานกับการท�

ำน�้

ำสับปะรด ครูสามารถใช้กระบวนการทาง

วิศวกรรมเป็นแนวทางในการออกแบบกิจกรรม ซึ่งเวลานั้น ผู้เขียน

จัดกิจกรรมโดยใช้สามัญส�

ำนึกเอาว่า ควรจะมีขั้นตอนกระบวนการ

อย่างไรบ้างที่จะน�

ำพานักเรียนท�

ำกิจกรรมให้ส�

ำเร็จได้ ซึ่งเมื่อ

พิจารณาแล้วพบว่า ขั้นตอนเหล่านั้นก็คือกระบวนการทาง

วิศวกรรม (E) นั่นเอง มีรายละเอียดดังนี้

ขั้นที่ 1 ก�

ำหนดปัญหาหรือความต้องการ

ครูชักชวนให้นักเรียนแต่ละกลุ่มท�

ำน�้

ำสับปะรดบรรจุขวด แข่งกัน

โดยมีเงื่อนไข ดังนี้

- ต้องการน�้

ำสับปะรดอย่างน้อย 4 ขวด แต่ไม่เกิน 6 ขวด

เนื่องจากมีความต้องการน�้

ำสับปะรดเพียงเท่านี้ (ครูน�

ำขวดมา

แสดงให้นักเรียนดู)

- ขวดน�้

ำสับปะรดต้องมีฉลากแสดงวันผลิต ประโยชน์ส่วนผสม

ของน�้

ำสับปะรด (เป็นร้อยละ) และปริมาตรสุทธิ

- ราคาขายต่อขวด โดยตั้งราคาขายให้มีก�

ำไรไม่เกินร้อยละ 50

ของต้นทุนการผลิต

ในขั้นนี้ ครูควรมีตัวอย่ างผลิตภัณฑ์น�้

ำผลไม้ชนิดอื่น

ให้นักเรียนสังเกตฉลากของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ เพื่อให้นักเรียน

ท�

ำความเข้าใจ และใช้เป็นแนวทางในการออกแบบฉลากขวด

น�้

ำสับปะรดของกลุ่ม

ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูล

จากขั้นที่ 1 แน่นอนที่สุดว่า นักเรียนจะต้องถามถึงขั้นตอน

กระบวนการในการท�

ำน�้

ำสับปะรด ซึ่งครูผู้สอนแนะน�

ำให้นักเรียน

สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต เป็นการใช้ทักษะความรู้ในการสืบค้น

หาข้อมูลในวิชาคอมพิวเตอร์ น�

ำข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่งมาสรุป

เป็นแนวทางในการท�

ำน�้

ำสับปะรดของกลุ่ม

ขั้นที่ 3 เลือกวิธีการ

จากขั้นที่ 2 น�

ำไปสู่การตัดสินใจเลือกสูตรหรือก�

ำหนดปริมาณ

สับประรดและเครื่องปรุงต่าง ๆ ที่ต้องการใช้ ในขั้นนี้ ครูควรย�้

ำให้

นักเรียนตระหนักถึงเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ก�

ำหนดไว้ในขั้นที่ 1 และครู

ควรพิจารณาถึงความเป็นไปได้ของวิธีการที่นักเรียนเลือกด้วย แต่

ทั้งนี้ไม่ควรไปชี้น�

ำหรือบอกวิธีการ

ในขั้นนี้นักเรียนจะมีปัญหาว่า ขวดที่ครูก�

ำหนดให้มีความจุเท่าไร

ซึ่งครูอาจจะถามกลับไปว่า ถ้านักเรียนต้องการทราบความจุของขวด

นักเรียนควรท�

ำอย่างไร

ขั้นที่ 4 ออกแบบและปฏิบัติการ

นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือปฏิบัติตามวิธีการที่เลือกไว้โดยไปขอเบิก

อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ครูเตรียมไว้ให้ การลงปฏิบัติท�

ำน�้

ำสับปะรด

ควรจะอยู่ในความดูแลอย่างใกล้ชิด เนื่องจากมีอุปกรณ์บางอย่าง

ที่นักเรียนต้องใช้อย่างระมัดระวัง

ขั้นที่ 5 ทดสอบ

นักเรียนแต่ละกลุ่มทดลองชิมน�้

ำสับปะรด เพื่อพิจารณาว่า

รสชาติของน�้

ำสับปะรดได้ตามที่ต้องการหรือไม่ นอกจากนี้ปริมาณ

น�้

ำสับปะรดที่ได้ เพียงพอต่อการบรรจุขวด 4 ขวด แต่ไม่เกิน 6

ขวดหรือไม่