Previous Page  40 / 61 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 40 / 61 Next Page
Page Background

หมายเหตุ :

ล�

ำดับของประเทศ/เขตเศรษฐกิจถูกเรียงล�

ำดับจากน้อยไปมาก ตามร้อย

ละของนักเรียน ที่อยู่ในโรงเรียนที่ผู้สอนเห็นความส�

ำคัญของการพัฒนาทางสังคม

และอารมณ์ของนักเรียน

กราฟที่ 3

แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนคณิตศาสตร์

กับร้อยละของผู้เรียนในประเทศต่าง ๆ ที่ผู้บริหารโรงเรียน

เห็นด้วยหรือเห็นด้วยอย่างยิ่งว่า ผู้สอนคณิตศาสตร์ใน

โรงเรียนมีความเห็นว่าพัฒนาการทางสังคมและอารมณ์ของ

ผู้เรียนมีความส�

ำคัญเท่ากับการพัฒนาความรู้และทักษะทาง

คณิตศาสตร์ของผู้เรียน

ผู้บริหารโรงเรียนที่ตอบแบบสอบถามของ PISA

2012 ได้ตอบข้อค�

ำถามที่ถามว่า ผู้บริหารโรงเรียนเห็นด้วย

มากน้อยเพียงใดว่า ผู้สอนคณิตศาสตร์ในโรงเรียนมีความคิด

ว่าพัฒนาการทางสังคมและอารมณ์ของผู้เรียนมีความส�

ำคัญ

เท่ากับการพัฒนาความรู้และทักษะทางคณิตศาสตร์ของ

ผู้เรียน ข้อค�

ำถามนี้มีจุดประสงค์เพื่อสอบถามถึงความรู้สึก

ของผู้บริหารโรงเรียนว่าผู้สอนในโรงเรียนได้ให้คุณค่ากับ

การช่วยเหลือผู้เรียนในการพัฒนาด้านสังคมและอารมณ์

เพียงใด ข้อมูลของ PISA บ่งชี้ว่า โดยส่วนใหญ่ ผู้เรียนของ

ประเทศต่าง ๆ อยู่ในโรงเรียนที่ผู้สอนเชื่อว่า พัฒนาการทาง

สังคมและอารมณ์ของผู้เรียนมีความส�

ำคัญเท่ากับการพัฒนา

ความรู้และทักษะทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน เมื่อเปรียบ

เทียบในกลุ่มประเทศ OECD พบว่า โดยเฉลี่ย ผู้เรียน

ประมาณ 71% อยู่ในโรงเรียนที่ผู้บริหารโรงเรียนรายงานเช่น

นั้น อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศ/เขตเศรษฐกิจ

อื่น ๆ ที่เข้าร่วมโครงการ พบว่า ร้อยละของผู้เรียนที่อยู่ใน

โรงเรียนเช่นนั้นมีสูงกว่าผู้เรียนที่อยู่ในกลุ่มประเทศ OECD

ดังแสดงในกราฟที่ 3

นอกจากนี้ ในโรงเรียนที่ผู้เรียนรายงานว่ามีความ

สัมพันธ์ที่ดีกับผู้สอน ยังพบว่า ผู้เรียนรายงานว่า ไม่ค่อยมา

โรงเรียนสาย หรือไม่ค่อยขาดเรียนในบางชั่วโมงหรือ

ทั้งวัน ในช่วงเวลาสองสัปดาห์ก่อนสอบ PISA ซึ่งพบกรณีดัง

กล่าวได้ในทุกประเทศ/เขตเศรษฐกิจ ยกเว้นใน ฮ่องกง-จีน

อินโดนีเซีย ลิกเตนสไตน์ และมาเลเซีย โดยผู้เรียนที่ความ

สามารถทางคณิตศาสตร์เทียบเท่ากันและมาจากครอบครัว

ที่มีภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคมใกล้เคียงกัน ผู้เรียนที่มี

ความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้สอนมากกว่า มักจะมาโรงเรียนสายหรือ

ขาดเรียนน้อยครั้งกว่า

ฉันก็จะได้รับความช่วยเหลือจากผู้สอนของฉัน และผู้สอน

ของฉันเกือบทั้งหมด ปฏิบัติต่อฉันเป็นอย่างดี) มักจะรายงาน

ว่าพวกเขามีความสุขเมื่ออยู่ในโรงเรียน พวกเขาหาเพื่อน

ได้ง่ายเมื่ออยู่ที่โรงเรียน พวกเขามีความรู้สึกคล้ายกับว่าเป็น

ส่วนหนึ่งของโรงเรียน และพวกเขาพอใจกับโรงเรียนของ

พวกเขา ในกรณีดังกล่าว ผู้เรียนแทบจะไม่รายงานว่า

พวกเขารู้ สึกโดดเดี่ยวเมื่ออยู่ที่โรงเรียน และพวกเขา

รู้สึกเขินและผิดที่ผิดทางเมื่ออยู่ที่โรงเรียน

การที่ผู้เรียนจะประสบความส�

ำเร็จหรือมีความเป็น

อยู่ในชีวิตดีเพียงใดนั้น ส่วนหนึ่งก็ขึ้นกับความสามารถของ

ผู้ เรียนในการพัฒนาทางสังคมและอารมณ์ ดังนั้น

การพัฒนาในเรื่องดังกล่าว จึงมีความส�

ำคัญต่อผู้เรียนมาก

พอ ๆ กับการพัฒนาเชิงวิชาการ

โรงเรียนไม่ใช่เพียงสถานที่ที่ให้ความรู้ในวิชาต่าง ๆ

เท่านั้น ยังเป็นสถานที่ส่งเสริมให้เกิดพัฒนาการทางสังคม

และอารมณ์

นิตยสาร สสวท.

40