Table of Contents Table of Contents
Previous Page  33 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 33 / 62 Next Page
Page Background

33

ปีที่ 44 ฉบับที่ 199 มีนาคม-เมษายน 2559

การเรียนกระตุ้น

ความคิด

ว่าที่ ร.ต.ภูริวัจน์ จิราตันติพัฒน์

นักวิชาการ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สสวท.

e-mail :

pjira@ipst.ac.th

ภาพความเสียหายที่เกิดจากแผ่นดินไหว

ที่มา:

http://dailypost.ng/ /2015/04/Nepal-earthquake.jpeg

ที่มา:

http://www.unitedworldschools.org/nepal-earthquake-2015/

ภาพแสดงพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวทั่วโลก

พื้นที่สีแดงเป็นบริเวณที่มีโอกาสสูงในการเกิดแผ่นดินไหว

ที่มา:

http://geology.about.com/od/seishazardmaps

แผ่นดินไหว

การจัดการเรียนรู้

เรื่อง

ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้

แผ่นดินไหวเป็นธรณีพิบัติภัยที่เกิดบ่อยและสร้างความเสียหาย�

อย่างรุนแรงต่อมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการเรียนรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับแผ่นดินไหว �

จะท�

ำให้ชุมชนสามารถเตรียมพร้อมรับมือกับพิบัติภัยได้ บทความนี้จะกล่าวถึง สาเหตุ

กระบวนการเกิด การตรวจวัด พื้นที่เสี่ยงภัย การเฝ้าระวังเตือนภัย รวมถึงการเตรียมรับมือ

และการบรรเทาความเสียหายของเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต

กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ หมายถึงวิธีการที่

ใช้ในการศึกษาอย่างเป็นระบบ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ที่

ศึกษาด้วยข้อมูลที่ได้จากกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อันได้แก่

การส�

ำรวจ การทดลอง การสร้างแบบจ�

ำลอง การจัดการเรียนรู้

ที่เน้ นการสืบเสาะหาความรู้ เป็ นการจัดการเรียนรู้

ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการตั้งค�

ำถาม โดยให้ความส�

ำคัญ

กับหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อตอบค�

ำถาม และสามารถสร้าง

ค�

ำอธิบายจากหลักฐานเชื่อมโยงค�

ำอธิบายกับองค์ความรู้

ทางวิทยาศาสตร์ และน�

ำเสนอพร้อมทั้งให้เหตุผลกับค�

ำอธิบาย

โดยระดับของการสืบเสาะหาความรู้สามารถปรับเปลี่ยนได้

ตามความเหมาะสมของรูปแบบการสอน กิจกรรม จุดประสงค์

การเรียนรู้ หรือความสามารถของนักเรียน การจัดการเรียนรู้

ที่เน้นการสืบเสาะหาความรู้ ควรมีหลายระดับ และแต่ละระดับ

มีความต่อเนื่องกันโดยให้ครูผู้สอนเป็นผู้ก�

ำหนดแนวทาง

ไปจนถึงการให้ผู้เรียนเป็นผู้ก�

ำหนดแนวทาง

bit.ly/199-5
Play Video