Table of Contents Table of Contents
Previous Page  1 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 1 / 62 Next Page
Page Background

คณะที่ปรึกษา

ประธานกรรมการ สสวท.

ผู้อำ�นวยการ สสวท.

บรรณาธิการบริหาร

ธรชญา พันธุนาวนิช

ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ

รองผู้อำ�นวยการ สสวท.

ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สสวท.

หัวหน้ากองบรรณาธิการ

พงษเ์ทพ บุญศรีโรจน์

กองบรรณาธิการ

ดร.กุศลิน มุสิกุล

ดร.ชัยวุฒิ เลิศวนสิริวรรณ

ณรงค์ แสงแก้ว

ถนิม ทิพย์ผ่อง

ธันยากานต์ ยืนตระกูลชัย

นวรัตน์ อินทุวงศ์

เบ็ญจวรรณ ศรีเจริญ

ประกายกานต์ ตรีอาภรณ์

ดร.ประสงค์ เมธีพินิตกุล

ปาริฉัตร พวงมณี

พรพจน์ พุฒวันเพ็ญ

ราม ติวารี

ดร.วนิดา ธนประโยชน์ศักดิ์

วราภรณ์ ต.วัฒนผล

สมเกียรติ เพ็ญทอง

สุพจน์ วุฒิโสภณ

ดร.สุพรรณี ชาญประเสริฐ

ดร.สุพัตรา ผาติวิสันติ์

อุปการ จีระพันธุ

ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ

ดร.สมชาติ ไพศาลรัตน์

ดร.อนุชิต อารมณ์สาวะ

นิลุบล กองทอง

รัชนีกร มณีโชติรัตน์

สินีนาฎ ทาบึงกาฬ

ดวงมาลย์ บัวสังข์

สิริมดี นาคสังข์

สุประดิษฐ์ รุ่งศรี

เจ้าของ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

924 ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย

กรุงเทพมหานคร 10110

โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3307

Call Center: 0-2335-5222

(ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท.

หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง

โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย

จักเป็นพระคุณยิ่ง)

วัตถุประสงค์

1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์

คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีให้แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป

2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของสสวท.

3. เสนอความก้าวหน้า​ของวิทยาการในด้านการศึกษา

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุน

การศึกษา​ของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน

4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่างๆ เกี่ยวกับ

ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี

จากครูและผู้สนใจทั่วไป

เบื้องหลังของการได้มาซึ่งปัจจัยสี่ในการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ คือ “พลังงาน”

เพราะพลังงานเป็นปัจจัยน�ำเข้าในกระบวนการต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งผลผลิต จึงเป็นเรื่องที่

ทุกคนจ�ำเป็นต้องรู้ และเข้าใจเพื่อให้สามารถเลือกใช้ได้อย่างฉลาดและเหมาะสม ในฉบับนี้

ได้มีโอกาสสัมภาษณ์ ดร.กล้าศักดิ์ จิตต์สงวน ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

ในฐานะเป็นประธานศูนย์สะเต็มศึกษาภาคกรุงเทพมหานครกล่าวถึงการขับเคลื่อนงาน

ด้านสะเต็มศึกษาระดับประเทศ

ช่วงหน้าร้อนที่ผ่านมาหลายท่านสงสัยกับข่าว Heat Wave, Heat Stroke เราจะรับมือ

อย่างไร และจากบทความ "นาวาฝ่าวิกฤต" ในฉบับที่ 198 เราจะน�ำเสนอแนวคิดและวิธีการที่ใช้

เป็นกรอบในการออกแบบและพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา

เมื่อเราน�ำ GeoGebra มาใช้วิเคราะห์ข้อมูลสถิติจะสามารถท�ำได้อย่างไร และ

เทคโนโลยีการน�ำ e-book มาใช้เพื่อประกอบการเรียนการสอนเป็นตัวช่วยด�ำเนินการ และจัดการ

ให้เกิดระบบการเรียนรู้ เทคนิคการใช้จ่ายเงินให้เลิศแบบมนุษย์เงินเดือนจะช่วยจัดสรรหมวดหมู่

การใช้จ่ายได้เหมาะสม และจากอดีตโอลิมปิกวิชาการแสดงแนวทางต่อการเปลี่ยนแปลง

ความสนใจในการเรียนคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ การท่องเที่ยวและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

สามารถควบคู่ไปด้วยกันได้ ขอยกตัวอย่างจากเกาะคิวชู ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้ในท้องถิ่นเรา

เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศการทัศนศึกษายิ่งขึ้น

พบกับบรรยากาศการทดลองเสมือนจริงฟิสิกส์ (Virtual Experiment: V.E.) ควบคู่กับ

การทดลองจริง เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนจริง โดยสาขาฟิสิกส์ สสวท. ได้ท�ำการวิจัย

และพัฒนาสื่อ ด้วยปรัชญา “คนไทยคิด และคนไทยท�ำ เพื่อคนไทย” และหนังสือการ์ตูน

วิทยาศาสตร์ในวรรณคดีล�ำน�ำ เรื่อง ราชสีห์กับหนู และ ก�ำเนิดพระสังข์ โดยน�ำเค้าโครงเรื่องเดิม

ผูกรวมเกร็ดความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับค�ำถามกระตุ้นคิดเหมาะกับการใช้เป็นสื่อเสริม

นอกเวลาเรียนอย่างยิ่ง

ทีมงานจะสรรหาประเด็นหลากหลายมาฝากเช่นเคยในเล่มหน้า..แล้วพบกัน..สวัสดี

บรรณาธิการบริหาร

เปิดเล่ม

สสวท.

ปีที่ 44 ฉบับที่ 200 พฤษภาคม - มิถุนายน 2559