Table of Contents Table of Contents
Previous Page  8 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 8 / 62 Next Page
Page Background

8

นิตยสาร สสวท

กิจกรรม

การเปลี่ยนพลังงานน�้ำเป็นพลังงานไฟฟ้า

กิจกรรม

มหัศจรรย์พลังงานลม

มนุษย์จัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่ประเสริฐสุด คือมีอวัยวะ

ที่สมบูรณ์ที่เอื้อต่อการด�ำเนินชีวิต มีสมองที่ประกอบด้วยสติ

และปัญญา สามารถประดิษฐ์คิดค้นสิ่งอ�ำนวยความสะดวก

มารองรับความอยากได้ อยากมีและอยากบริโภคซึ่งจะเพิ่ม

ปริมาณมากขึ้นตลอดเวลา ในขณะที่สิ่งต่างๆ ที่รวมกันเรียกว่า

ทรัพยากรธรรมชาติบนโลก เริ่มเสื่อมสภาพ ถึงขั้นไม่เพียงพอ

ส�ำหรับความต้องการของมนุษย์อีกต่อไป “พลังงาน“ ซึ่งเป็น

รากฐานในการผลิตสิ่งต่างๆ บนโลกจึงนับวันยิ่งทวีความส�ำคัญ

มากขึ้น จนอยู่ในภาวะที่ขาดแคลนอีกต่อไปไม่ได้ เพราะ

จะส่งผลกระทบต่อคุณภาพความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตและ

สิ่งแวดล้อม ที่อาจเป็นผลให้ไม่สามารถด�ำรงอยู่ได้อย่างปกติ

สุข มนุษย์จึงต้องคิดค้น วิจัย ค้นคว้าหาแหล่งก�ำเนิดพลังงาน

เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ร่วม

กันคิด วิเคราะห์สถานการณ์การใช้พลังงานจากแหล่ง

ก�ำเนิดลม เพื่อท�ำให้เกิดงานโดยไปหมุนเครื่องก�ำเนิด

ไฟฟ้าอย่างง่าย ให้หมุนได้อย่างต่อเนื่อง จนท�ำให้ได้

กระแสไฟฟ้ามากที่สุด จากวัสดุ อุปกรณ์ที่ก�ำหนดให้

แล้ วสรุปเป็นองค์ความรู้ ที่ได้ จากการท�ำกิจกรรม

และที่ส�ำคัญเชื่อมโยงกับหลักการผลิตไฟฟ้ าของ

โรงไฟฟ้าพลังงานลมในประเทศ เช่น โรงไฟฟ้ากังหันลม

ที่สันเขื่อนล�ำตะคอง

ที่สามารถน�ำมาใช้ได้อย่างเหมาะสมและเพียงพอต่อความ

ต้องการบริโภคของมนุษย์ในทุกภูมิภาคของโลก พลังงาน

จึงเป็นเรื่องใกล้ตัว ที่เราทุกคนต้องเอาใจใส่ ต้องเสาะหา

แหล่งพลังงาน และเลือกใช้แหล่งพลังงานอย่างมีประสิทธิผล

และเพียงพอ ดังนั้นการศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้องได้แก่

เทคโนโลยีการน�ำพลังงานจากแหล่งต่างๆ มาใช้ ศักยภาพ

ของแหล่งพลังงานแต่ละประเภท ความพร้อมทั้งด้านความรู้

ความสามารถของบุคลากรที่เกี่ยวข้องด้านพลังงานต่างๆ

รวมถึงความรู้พื้นฐานที่ประชากรทุกคนต้องมีเพื่อการตัดสินใจ

เลือกใช้พลังงาน จึงเป็นความจ�ำเป็นที่ต้องเร่งด�ำเนินการ

ของคนไทยทุกคน

น�้ำ ลม แสงอาทิตย์ ชีวมวล

เป็นแหล่งพลังงานที่ นักเรียนส่วนใหญ่มีความคุ้นเคย เพราะเป็นแหล่งพลังงานที่ทุกคนน�ำมาใช้ในชีวิตประจ�ำวัน

ในระดับชุมชน หมู่บ้าน และใช้กันมายาวนาน ตั้งแต่รุ่นปู่ ย่า ตา ยาย เมื่อน�ำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน นักเรียนส่วนใหญ่

จึงให้ความสนใจ อยากรู้ และลงมือปฏิบัติด้วยความสนใจ และสนุกที่จะเรียนรู้ เพราะนักเรียนสามารถออกแบบและลงมือปฏิบัติ

ได้ด้วยตนเอง สามารถร่วมกันคิด วิเคราะห์ ออกแบบ วางแผนกิจกรรมตามเงื่อนไขที่มีอยู่ได้ ภายในเวลาที่มีจ�ำกัดในชั้นเรียน

และสามารถวิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ร่วมกัน จากการท�ำกิจกรรมดังกล่าว ดังตัวอย่างเช่น

เป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้ นัก เรียน

ได้ร่วมกันคิด วิเคราะห์สถานการณ์การใช้พลังงานของน�้ำ

ที่มีสะสมในรูปพลังงานศักย์ มาวางแผนและออกแบบ

การเปลี่ยนพลังงานศักย์ ของน�้ำเป็ นพลังงานกล

ของการหมุนของกังหันน�้ำให้ได้มากที่สุด และต่อเนื่อง

เพื่อให้สามารถหมุนขดลวดเหนี่ยวน�ำ

จน ไ ด้ ก ร ะ แ ส ไ ฟฟ้ า ม า กที่สุ ด

จากวัสดุอุปกรณ์ ที่ก� ำหนด ใ ห้

แล้วสรุปเป็นองค์ความรู้ที่ได้จาก

การท�ำกิจกรรมและที่ส�ำคัญคือ

การเชื่อมโยงกับหลักการผลิตไฟฟ้า

ของ โร ง ไฟฟ้ าพลัง งานจากน�้ ำ

ในประเทศ เช่น โรงไฟฟ้าที่เขื่อนภูมิพล

และเขื่อนศรีนครินทร์