

14
นิตยสาร สสวท
คลื่นความร้อนกั
บผลกระทบต่อชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสั
งคม...
การรั
บมือ
ภั
ยคลื่นความร้อน...
ั
บื อ
ั
ยื่ น้ อ
นับเป็นเรื่องโชคดีที่ยังไม่มีรายงานการเกิดคลื่นความร้อน
ในประเทศไทยเลย เพราะในบรรดาประเทศที่มีปรากฏการณ์
ดังกล่าวล้วนได้รับผลกระทบมากมายจากความร้อนที่มีสะสม
ในพื้นที่จนท�ำให้อุณหภูมิอากาศสูงขึ้นมาก โดยเฉพาะในยุโรป และ
เอเชีย เช่น จีน ปากีสถาน บังคลาเทศ และอินเดีย ที่มีความผิดปกติ
ของอุณหภูมิอากาศค่อนข้างมาก โดยในบางพื้นที่ของเอเชียอาจมี
อุณหภูมิสูงตั้งแต่ 40-50˚C ในแต่ละปีจึงมีผู้คนทั่วโลกจ�ำนวน
หลายหมื่นคนที่เจ็บป่วยหรือเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวข้องกับความร้อน
(Heat-related illness) หรือจากการที่ร่างกายไม่สามารถปรับ
ตัวให้เข้ากับการเพิ่มของอุณหภูมิที่สูงขึ้นสู่ระดับที่ร้อนจัดอย่าง
ฉับพลันได้ ท�ำให้ค่าใช้จ่ายทางการแพทย์ที่จ�ำเป็นต้องใช้ในการ
รักษาพยาบาลการเจ็บป่วยจากปรากฏการณ์ดังกล่าวเพิ่มสูง
ตามไปด้วย นอกจากนี้เรายังพบอีกว่าในช่วงที่เกิดปรากฏการณ์
คลื่นความร้อน ประชาชนใช้พลังงานในอัตราสูงขึ้นมาก เนื่องจาก
การเกิดปรากฏการณ์คลื่นความร้อนในพื้นที่ต่างๆ ของอินเดีย
เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2558 ที่ผ่านมา ท�ำให้บางพื้นที่มีอุณหภูมิ
สูงขึ้นถึง 47˚C จนมีผู้เสียชีวิตในปีนั้นประมาณกว่า 2,000 คน
ที่มา:
http://weeridnewsdiary.blogspot.com/2015/06/2558.htmlที่มา:
http://www.india.com/news/india/heatwave-claimed-over-4000- lives-since-2013-government-1142728/ต้องใช้เครื่องปรับอากาศเพื่อช่วยท�ำความเย็น ส่งผลให้บางพื้นที่ประสบกับปัญหาขาดแคลนพลังงานไฟฟ้า และท�ำให้เกิด
ผลกระทบอื่นๆ อย่างต่อเนื่องตามมา
นอกจากคลื่นความร้อนจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพและการด�ำรงชีวิตของมนุษย์แล้ว ยังส่งผลกระทบต่อ
สิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมถึงสิ่งแวดล้อมด้วย โดยผลพวงจากการที่อากาศมีอุณหภูมิสูงขึ้นท�ำให้สัตว์เจ็บป่วยหรือล้มตายเช่นเดียว
กับมนุษย์ ส่วนพืชก็ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ดี และถ้าพื้นที่มีสภาพแห้งแล้งและอุณหภูมิสูงมากอย่างต่อเนื่อง พืชก็อาจ
ตายได้ในที่สุด ในหลายพื้นที่มีรายงานว่า คลื่นความร้อนได้ท�ำให้ผลผลิตทางการเกษตรเสียหายในปริมาณมาก รวมถึงมี
ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ อันอาจน�ำไปสู่ปัญหาการขาดแคลนอาหารของมนุษย์ได้ นอกจากนี้ ความแห้งแล้ง
และอากาศที่ร้อนจัดของคลื่นความร้อนยังเป็นปัจจัยท�ำให้เกิดไฟป่าได้โดยง่าย และอาจเกิดขึ้นได้อย่างรุนแรง จนสร้าง
ความเสียหายทั้งต่อสิ่งแวดล้อม ชีวิตและทรัพย์สิน จากผลกระทบทั้งหมดที่กล่าวมา จึงเห็นได้ว่าปรากฏการณ์คลื่นความร้อน
ได้สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคมมูลค่ามหาศาล
ในประเทศที่มักประสบภัยคลื่นความร้อน มักมี
การเตรียมรับมือกับปรากฏการณ์ดังกล่าว และการพยากรณ์
ส�ำหรับการเกิดปรากฏการณ์นี้โดยใช้การวิเคราะห์แผนที่
อากาศหรือข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยาเพื่อบ่งชี้การเคลื่อนที่
ของมวลอากาศร้อนเข้าสู่พื้นที่ รวมถึงการก�ำหนด
ค่าดัชนี
ค่าความร้อน
(Heat index) เพื่อให้ประชาชนเตรียมตัวรับ
ปรากฏการณ์คลื่นความร้อนที่อาจท�ำให้เกิดอันตรายต่อ
สุขภาพในระดับต่างๆ ดัชนีค่าความร้อน
เป็นค่าอุณหภูมิ
ที่ร่างกายจะรู้สึกร้อนขึ้นมากกว่าอุณหภูมิจริงของอากาศ
จึงมีปัจจัยของความชื้นเข้ามาเกี่ยวข้องกับการตอบสนอง
ต่ออัตราการถ่ายเทปริมาณความร้อนระหว่างผิวหนังของ
ร่างกายกับอากาศที่ล้อมรอบ ถ้าความชื้นสัมพัทธ์เพิ่มสูงขึ้น
ร่างกายจะระบายความร้อนลดลง อุณหภูมิของร่างกายจึงมี
โอกาสเพิ่มสูงขึ้น จนเป็นอันตรายได้