

11
ปีที่ 44 ฉบับที่ 200 พฤษภาคม - มิถุนายน 2559
เนื่องด้วยคนส่วนใหญ่ของประเทศไทยยังไม่คุ้นเคย
ในการน�ำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ เหมือนกับ
ที่ใช้พลังงาน ลม น�้ำ แสงอาทิตย์ และชีวมวล ดังนั้นในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ด้านการน�ำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้
ประโยชน์จึงต้องมีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเน้น
การปรับทัศนคติด้านคุณค่าและความปลอดภัยของพลังงาน
นิวเคลียร์อย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยเริ่มตั้งแต่ครูผู้สอน
นักเรียน และผู้ปกครองรวมถึงประชาชนทั่วไป ตัวอย่างเช่น
การใช้เทคโนโลยีการเร่งปฏิกิริยานิวเคลียร์ให้เกิดขึ้นในนิวเคลียส
ของธาตุกัมมันตรังสี เพื่อน�ำมาเป็นเชื้อเพลิงในการให้ได้
พลังงานนิวเคลียร์ ปริมาณมาก ในระบบปิดที่เรียกว่ า
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (Nuclear reactor)
ซึ่งเป็นเทคโนโลยี
ที่ผ่านการออกแบบและควบคุมอย่างรัดกุม โดยเน้นความปลอดภัย
สูงสุดภายใต้การดูแลของทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ
(International Atomic Energy Agency) หรือ IAEA
สมมติ :
ให้นักเรียนเป็นผู้บริหาร ที่มีความจ�ำเป็น
ต้องสร้างโรงไฟฟ้าโรงใหม่ ให้วิเคราะห์หาเหตุผล และหา
แนวทาง ในการสร้างโรงไฟฟ้าโรงใหม่ โดยค�ำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. ความคุ้มค่า
2. การส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างน้อยที่สุด
3. ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าต�่ำ เพื่อให้ประชาชน
สามารถใช้ไฟฟ้าได้ในราคาไม่แพง
4. มีปริมาณเพียงพอ
กิจกรรม
โรงไฟฟ้าในฝัน
กิจกรรมโรงไฟฟ้าในฝัน เป็นกิจกรรมที่
เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ร่วมกันคิด และวิเคราะห์
สถานการณ์การใช้ ไฟฟ้ าของประชากรที่ก�ำหนด
เพื่อวางแผนผลิตไฟฟ้าให้คุ้มค่า เพียงพอต่อการบริโภค
และต้ นทุนการผลิตต�่ำ เพื่อคงไว้ ซึ่งราคาไฟฟ้ า
ที่ไม่แพง และที่ส�ำคัญต้องเป็นมิตรต่อสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อมด้วย โดยเฉพาะบริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้า
ดังกล่าว ให้ออกแบบโรงไฟฟ้า ว่าควรเป็นโรงไฟฟ้าแบบใด
ใช้ เชื้อเพลิงชนิดใดในการผลิตอย่ างเพียงพอต่ อ
ความต้องการบริโภคของประชากร ทั้งนี้ยังต้องพิจารณา
ข้อจ�ำกัดของแหล่งพลังงานที่จะน�ำมาใช้เป็นพลังงาน
ในการผลิตด้วย
พลังงานนิวเคลียร์ เป็นอีกหนึ่งทางเลือก
ในการน�ำพลังงานนี้มาใช้ ผลิตไฟฟ้ า การพัฒนา
โรงไฟฟ้าที่ส�ำคัญของประเทศ ที่สามารถผลิตไฟฟ้า
ในปริมาณมากอย่างพอเพียงกับความต้องการใช้
ไฟฟ้าของประเทศ ที่มีปริมาณเพิ่มอย่างต่อเนื่อง
เป็นการใช้พลังงานทดแทนการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล
ที่ก�ำลังลดลงเรื่อยๆ และก�ำลังจะหมดไป พลังงาน
นิวเคลียร์ เป็ นพลังงานสะอาด ดังนั้นการเตรียม
ก�ำลังคนให้เป็นผู้ที่มีความรู้เรื่องพลังงานนิวเคลียร์
เพื่อให้ เป็นผู้ที่สามารถใช้หรือมีส่ วนเกี่ยวข้องกับ
การผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานนิวเคลียร์ให้กับประเทศ
นับว่ามีความส�ำคัญมากที่ไม่ควรเพิกเฉย เพื่อรองรับ
การใช้พลังงานนิวเคลียร์อย่างถูกต้องและปลอดภัย
ในอนาคต ควบคู่ ไปกับการให้ ความรู้ พื้นฐานแก่
ประชาชนทั่วไปอย่างถูกต้องและทั่วถึง
บรรณานุกรม
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558).
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ พลังงานทดแทน
กับการใช้ประโยชน์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การค้า สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2556).
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
.
พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การค้า สกสค.