Previous Page  3 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 3 / 62 Next Page
Page Background

3

ปีที่ 41 ฉบับที่ 184 กันยายน - ตุลาคม 2556

สแกนโค้ดนี้เพื่อชม

ภาพเคลื่อนไหว

รอบรู้วิทย์

สุธิดา การีมี

นักวิชาการ สาขาออกแบบและเทคโนโลยีี สสวท. / e-mail :

skare@ipst.ac.th

กิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำ

�วันของเรานั้นล้วนมีส่วนเกี่ยวข้อง

กับการใช้พลังงาน เช่น การทำ

�อาหาร การใช้แสงสว่างจากไฟฟ้า

เพื่ออ่านหนังสือหรือทำ

�กิจกรรมต่าง ๆ นอกจากนี้ยังรวมถึงการ

ขนส่งและการเดินทาง ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ล้วนแล้วแต่ต้องใช้พลังงาน

รูปแบบต่าง ๆ เพื่อช่วยให้กิจกรรมดำ

�เนินไปได้อย่างสะดวก รวดเร็ว

และมีประสิทธิภาพ มนุษย์รู้จักนำ

�พลังงานมาใช้ในการดำ

�รงชีวิต

ตั้งแต่สมัยโบราณ เริ่มจากการใช้ไม้หรือหินเสียดสีกัน เพื่อให้เกิด

ประกายไฟและความร้อนเพื่อใช้ในการหุงต้มอาหาร มนุษย์ยังรู้จัก

ทำ

�กังหันวิดน้ำ

� ทำ

�กังหันลมเพื่อนำ

�พลังงานจากน้ำ

�และลมมาใช้

ยกของหนักและบดเมล็ดธัญพืช พลังงานเป็นปัจจัยสำ

�คัญในการ

ดำ

�เนินกิจกรรมของมนุษย์ พลังงานมีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับ

ความมั่นคงของประเทศทั้งทางการเมือง การทหาร เศรษฐกิจและ

สังคม ปัจจุบันมีการใช้พลังงานมากขึ้นในการพัฒนาเศรษฐกิจ

ทุกสาขา เช่น อุตสาหกรรม คมนาคมขนส่ง ไฟฟ้า ปริมาณการใช้

พลังงานจึงมีความสัมพันธ์กับฐานะทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ

ปัจจุบันความต้องการพลังงานของโลกเพิ่มมากขึ้นในทุก ๆ ปี

เนื่องจากสาเหตุสำ

�คัญประการหนึ่งคือ จำ

�นวนประชากรบนโลก

เพิ่มมากขึ้น และพลังงานส่วนใหญ่ที่ใช้ในกระบวนการอุตสาหกรรม

การขนส่ง การคมนาคม และอื่น ๆ มักอยู่ในรูปของพลังงานสิ้น

เปลือง เช่น น้ำ

�มัน แก๊สธรรมชาติ และถ่านหิน อีกทั้งประชากรมีการ

สื่อการเรียนรู้

เรื่องพลังงานหมุนเวียน

เปลี่ยนแปลงวิถีการดำ

�รงชีวิตโดยหันมาใช้อุปกรณ์หรือเครื่องใช้ที่ต้อง

ใช้พลังงานเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นจึงได้มีการคิดหาวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ

มากมาย เพื่อจะจัดหาพลังงานให้เพียงพอแก่ความต้องการ โดย

จำ

�เป็นต้องคำ

�นึงถึงความปลอดภัย และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

จากการใช้พลังงานนั้นด้วย ซึ่งวิธีการหนึ่งคือการจัดหาแหล่งพลังงาน

หมุนเวียน (renewable energy sources)

การศึกษาเรื่องพลังงานหมุนเวียนเป็นสิ่งสำ

�คัญที่จะช่วยเสริม

สร้างความเข้าใจในพลังงานหมุนเวียนแต่ละประเภท เพื่อจะได้ใช้

เป็นข้อมูลพื้นฐานในการตัดสินใจเลือกใช้พลังงานหมุนเวียนที่เหมาะ

สมกับท้องถิ่นของตนเอง ซึ่งในสาระการออกแบบและเทคโนโลยี

ก็ได้มีการกล่าวถึงเรื่องนี้ไว้ในหลายด้าน เช่น ความหมายของคำ

�ว่า

“พลังงานหมุนเวียน” การยกตัวอย่างพลังงานหมุนเวียนที่มีใช้ใน

ประเทศไทย โดยหากเราได้เรียนรู้ในข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี้แล้วจะช่วย

ให้มีความเข้าใจในการเลือกใช้พลังงานที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

น้อยหรือสามารถหมุนเวียนนำ

�กลับมาใช้ใหม่ได้อีกด้วย

นอกจากเนื้อหาเรื่องพลังงานหมุนเวียนที่มีปรากฏภายในหนังสือ

เรียนการออกแบบและเทคโนโลยีแล้ว ทางสาขาการออกแบบและ

เทคโนโลยีได้มีการพัฒนาสื่อดิจิทัลที่ให้ความรู้เกี่ยวข้องกับพลังงาน

หมุนเวียน 2 รูปแบบ คือ

(ที่มา:

http://www.measwatch.org/sites/default/files/

imagecache/550/renewable-energy-in-tourism.jpg)