Previous Page  9 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 9 / 62 Next Page
Page Background

9

ปีที่ 41 ฉบับที่ 184 กันยายน - ตุลาคม 2556

คำ

�ว่า “พรสวรรค์” (gifted) หรือ “ปัญญาเลิศ” มักจะ

ใช้กับความถนัดพิเศษที่เกิดตามธรรมชาติในด้านวิชาการ ส่วน

คำ

�ว่า “ความสามารถพิเศษ” (talent) นั้น มักจะใช้กับความ

ถนัดพิเศษด้านกีฬาหรือดนตรี แต่นิยามนี้ก็ไม่เป็นที่ยอมรับใน

แวดวงวิชาการมากนักหรือแม้แต่ในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ

เอง อย่างเช่น สหราชอาณาจักร ในบทความนี้จะใช้คำ

�ว่า

“พรสวรรค์” แทนคำ

�ว่า “ปัญญาเลิศ” เพราะรักษาความ

หมายตามรากศัพท์เดิมไว้ได้มากกว่า อีกทั้งยังครอบคลุมความ

สามารถด้านอื่น ๆ ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับความคิดหรือสติปัญญา

โดยตรง ส่วนคำ

�ว่า “อัจฉริยะ” (genius) มักจะไม่ค่อยได้ใช้

กัน หรือใช้กับบุคคลที่มีพรสวรรค์อย่างสูงเพียงไม่กี่คนเท่านั้น

ดังรายงานชิ้นหนึ่งที่กล่าวว่า (ERIC,1990)

“...พ่อแม่มักจะสับสนกับชื่อต่าง ๆ ที่ใช้เรียกเด็กที่มีพรสวรรค์

พ่อแม่หลาย ๆ คน เคยได้ยินคำ

�เหล่านั้นหรือเคยใช้ในบท

สนทนา โดยที่ไม่รู้ว่าคำ

�ต่าง ๆ เหล่านั้นหมายถึงพรสวรรค์จริง ๆ

หรือเป็นแค่คำ

�ที่ช่วยอธิบายแนวคิดเรื่องพรสวรรค์

สุปรีชา หริ่มรัชดา

นักวิชาการ สาขาโอลิมปิกวิชาการและพัฒนาอัจฉริยภาพฯ สสวท./ e-mail :

rsupreecha@yahoo.com

เรื่องเด่นประจำ

�ฉบับ

“พรสวรรค์” กับ “อัจฉริยภาพ”

• เมื่อก่อนคำ

�ว่า

“อัจฉริยะ” (genius)

ถูกใช้กันอย่างแพร่

หลาย แต่ปัจจุบันคำ

�นี้สงวนไว้สำ

�หรับผู้ที่มีพรสวรรค์อย่างสูงยิ่ง

เท่านั้น

• คำ

�ว่า

“ความสามารถพิเศษ” (talent)

นั้นมักจะใช้กับ

ความช่ำ

�ชองหรือความสามารถบางด้านของบุคคล เราจึงควร

คำ

�นึงให้ดีว่าความสามารถพิเศษนั้น เป็นพรสวรรค์หรือว่า

เป็นทักษะชั้นสูงที่เกิดจากการฝึกฝน เราอาจจะกล่าวได้ว่าผู้มี

พรสวรรค์คือผู้ที่มีความสามารถพิเศษอย่างสูงในหลาย ๆ ด้าน

• คำ

�ว่า

“ยุวอัจฉริยะ” (prodigy)

หรือ

“เด็กเก่งเกินวัย”

(precocious)

จะใช้กับเด็กที่แสดงออกอย่างเด่นชัดถึงทักษะชั้น

สูงในด้านใดด้านหนึ่งตั้งแต่เยาว์วัยและมีแรงจูงใจที่สม่ำ

�เสมอ มี

ข้อสังเกตอย่างหนึ่งว่า คำ

�ว่า “เด็กเก่งเกินวัย” มีรากศัพท์มาจาก

ภาษากรีก คำ

�ว่า

“สุกก่อนห่าม” (precooked)

ซึ่งเกี่ยวข้องกับ

พืชผักที่สุกก่อนเวลา

• คำ

�ว่า

“ความสามารถสูง” (superior)

เป็นคำ

�เชิงเปรียบ

เทียบ เมื่อเรากล่าวว่าเด็กมี “ความสามารถสูง” เราต้องการจะ

รู้ว่าสูงกว่าใคร หรือคนกลุ่มไหนและมากน้อยเพียงไร เด็กอาจ