

5
ปีที่ 41 ฉบับที่ 184 กันยายน - ตุลาคม 2556
บรรณานุกรม
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. พลังงานทดแทน. สืบค้นเมื่อ 28
ธันวาคม 2552, จาก
http://www.dede.go.th/dede/วรนุช แจ้งสว่าง. (2551).
พลังงานหมุนเวียน
. กรุงเทพฯ: สำ
�นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ. (2554).
หนังสือเรียนการออกแบบและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ. (2554).
หนังสือเสริมการเรียนรู้ การออกแบบและเทคโนโลยี.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
สกสค. ลาดพร้าว.
อนุตร จำ
�ลองกุล. (2545).
พลังงานหมุนเวียน
. กรุงเทพฯ: โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
หน้าแรกของ animation
clip
การใช้ประโยชน์จาก
แสงอาทิตย์
ภาพมือที่แสดง
เครื่องหมายว่าเลือก
คำ
�ตอบไม่ถูกต้อง
เทคโนโลยีพลังงาน
แสงอาทิตย์เพื่อผลิตความ
ร้อนและเพื่อผลิตไฟฟ้า
การผลิตกระแสไฟฟ้าจาก
เซลล์แสงอาทิตย์ หรือ
โซลาร์เซลล์ (solar cell)
2. Animation Clip เรื่องการทำ
�งานของ solar cell
แนวคิด
ของการจัดทำ
� animation clip นี้เพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้ที่นำ
�เสนอ
เนื้อหาของเรื่องการนำ
�พลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ให้เกิดประโยชน์
โดยนำ
�เสนอผ่านการดำ
�เนินเรื่องของตัวละคร 2 คน คือ “หนูดี” ซึ่ง
มีลักษณะเป็นตัวละครของเด็กที่ช่างสงสัยและชอบซักถามเพื่อหาคำ
�
ตอบในประเด็นความรู้ต่าง ๆ และ “ดอกเตอร์ที” ซึ่งมีลักษณะเป็น
ผู้มีความรอบรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่จะสามารถตอบข้อสงสัยของหนูดี
ได้ โดย animation clip เรื่องนี้เกิดจากความสงสัยของหนูดีในเรื่อง
ของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ดังนั้นหนูดีจึงไปสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมจาก
ดอกเตอร์ที ดอกเตอร์ทีจึงได้อธิบายความรู้เรื่องการนำ
�พลังงานแสง
อาทิตย์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ใน 2 รูปแบบ คือ เทคโนโลยีพลังงาน
แสงอาทิตย์เพื่อผลิตความร้อน และเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์
เพื่อผลิตไฟฟ้า การให้ความรู้เรื่องเซลล์แสงอาทิตย์ ส่วนประกอบ
ประเภทของเซลล์แสงอาทิตย์ รวมทั้งอธิบายหลักการทำ
�งานของ
แผ่นเซลล์แสงอาทิตย์หรือโซลาร์เซลล์ (solar cell) พร้อมทั้งตัวอย่าง
ภาพของ animation clip เรื่องการทำ
�งานของ solar cell มีดังนี้
จากตัวอย่างการนำ
�เสนอภาพสื่อดิจิทัลข้างต้นสื่อดิจิทัลทั้ง 2
ประเภทนี้มีการนำ
�เสนอเนื้อหาในลักษณะที่มีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้งาน
โดยผู้ใช้งานสามารถคลิกเลือกรายการต่าง ๆ และมีการนำ
�เสนอ
ผ่านทางตัวละครดำ
�เนินเรื่องราวเพื่ออธิบายเนื้อหาแต่ละส่วน ซึ่ง
จะช่วยดึงดูดความสนใจของผู้เรียน รวมทั้งมีเกมเพื่อช่วยทบทวน
ความรู้ของผู้เรียนอีกด้วย ตัวอย่างของสื่อดิจิทัลที่พัฒนาขึ้นมา
นี้ ผู้สอนสามารถนำ
�ไปใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงาน
หมุนเวียน รวมทั้งผู้สนใจทั่วไปก็สามารถที่จะใช้เป็นแหล่งเรียนรู้
ข้อมูลเรื่องพลังงานหมุนเวียนได้อีกทางหนึ่งด้วย