

37
ปีที่ 41 ฉบับที่ 184 กันยายน - ตุลาคม 2556
ที่พัฒนาได้สามารถนำ
�มาขึ้นรูปเป็นถุงและผลิตภัณฑ์พลาสติกโดยใช้เครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม และพลาสติกที่ได้
มีคุณสมบัติเชิงกลดีเทียบเท่าพลาสติก แต่ต้นทุนการผลิตต่ำ
�กว่าการนำ
�เข้าวัตถุดิบทำ
�พลาสติกครึ่งหนึ่งของต้นทุนเดิม
๙. รศ. ดร.มงคล สุขวัฒนาสินิทธิ์
ผู้สำ
�เร็จจาก พสวท. ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ปัจจุบันปฏิบัติงานที่ ภาควิชาเคมี
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ผลิตเม็ดพลาสติกชีวภาพจากไคติน–ไคโตซานที่สกัดจากเปลือกกุ้งและ
ปู ซึ่งเม็ดพลาสติกชีวภาพทั้งสองชนิดสามารถแปรรูป หรือขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้ เช่น ถาด ช้อน ถุงปุ๋ย ถุงขยะ
คอนแทคเลนส์ วัสดุปิดแผล ไหมละลาย แคปซูลยา ฟิล์มเคลือบผักผลไม้
๑๐. ผศ. ดร.วินิช พรมอารักษ์
ผู้สำ
�เร็จจาก พสวท. ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ปัจจุบันปฏิบัติงานที่ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ได้พัฒนาวัสดุที่ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้า Organic Light–Emitting Devices (OLED) ซึ่งสามารถเปล่ง
แสงเมื่อได้รับพลังงานไฟฟ้าจึงไม่จำ
�เป็นต้องมี backlight เพื่อใช้ทำ
�เป็นชิปคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์กักเก็บพลังงาน อุปกรณ์ในจอแสดง
ภาพ ทำ
�ให้จอภาพรุ่นใหม่แบนบาง ใช้พลังงานน้อย และมีความยืดหยุ่นสูง สามารถโค้งงอได้
๑๑. นางสาวจริน โอษะคลัง
ผู้สำ
�เร็จจาก พสวท. ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ปัจจุบันปฏิบัติงานที่ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้พัฒนา graphene ซึ่งเป็นรูปหนึ่งของคาร์บอน แข็งแกร่งกว่าเพชรแต่สามารถม้วนหรือพับได้ มีคุณสมบัติ
นำ
�ไฟฟ้าดีกว่าซิลิคอนถึง ๑๐๐ เท่า โดยทั้ง graphene และ OLED ใช้ทำ
�เป็นชิปคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์กักเก็บพลังงาน อุปกรณ์ใน
จอแสดงภาพ ทำ
�ให้จอภาพรุ่นใหม่แบนบางใช้พลังงานน้อย และมีความยืดหยุ่นสูงสามารถโค้งงอได้
๑๒. รศ. ดร.สนอง เอกสิทธิ์
ผู้สำ
�เร็จจาก พสวท. ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ปัจจุบันปฏิบัติงานที่ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ได้พัฒนาเครื่องมือวิเคราะห์ทางนิติวิทยาศาสตร์โดยใช้เพชร ๐.๑ เพื่อตรวจพิสูจน์หลักฐานที่ปนเปื้อนบนพื้นผิววัตถุ
เช่น คราบยาเสพติด คราบลิปสติก ตรวจลายเซ็นจากคราบหมึก จากการทดสอบพบความแม่นยำ
�ถึง ๑๐๐% เพราะสามารถวัดได้
ลึกในระดับโมเลกุลและองค์ประกอบของสาร โดยดูจากสเปกตรัมหรือคลื่นแสงที่ปรากฏ แต่เดิมมีการนำ
�เข้าเครื่องมือวิเคราะห์ทาง
นิติวิทยาศาสตร์ในราคาสูงถึง ๔ แสนบาท ขณะที่การใช้งานก็มีข้อจำ
�กัด คือ ไม่สามารถใช้งานกับวัสดุที่เป็นของแข็ง หรืออยู่บนพื้น
ขรุขระ วัตถุที่มีขนาดเล็ก วัสดุที่มีสีดำ
� เช่น เส้นผม พลาสติกหนา ฟิล์มบางเคลือบผิว ทีมวิจัยจึงออกแบบอุปกรณ์ขึ้นใหม่ซึ่งดัดแปลง
จากอุปกรณ์ช่วยวิเคราะห์อัญมณี โดยใช้เพชรเป็นตัวนำ
�แสง ร่วมกับเทคนิคอินฟราเรดซึ่งมีอยู่เดิม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวิเคราะห์
โมเลกุลของสาร แต่อุปกรณ์ตรวจของเครื่องมือนำ
�แสงเดิม เป็นซิลิคอน ซึ่งราคาแพงกว่าเพชร ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงทำ
�ให้ต้นทุนการ
ผลิตลดลงเหลือเพียง ๑ หมื่นบาท และเพชร ๐.๑ กะรัตเมื่อใช้เป็นวัสดุนำ
�แสงร่วมกับอุปกรณ์อินฟราเรด ให้ผลตรวจสอบที่แม่นยำ
�
ถึง ๑๐๐% ซึ่งคณะนักวิจัยเตรียมนำ
�เครื่องมือดังกล่าวส่งต่อไปให้สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ใช้วิเคราะห์หลักฐานทางอาชญากรรมต่อไป
นอกจากนี้ พบว่าเครื่องมือนี้นำ
�มาวิเคราะห์คุณภาพผ้าไหมและใช้พัฒนาวัสดุนาโนทางการแพทย์ได้
จากตัวอย่างผลงานวิจัยบัณฑิต พสวท. ดังกล่าว ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของผลงานบัณฑิต พสวท. และในโอกาสที่การดำ
�เนิน
โครงการจะครบรอบปีที่ ๓๐ ในเดือนมีนาคม ๒๕๕๗ สสวท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงขอเรียนเชิญผู้สนใจเข้าร่วม
กิจกรรม การแสดงมหกรรมการนำ
�เสนอผลงานบัณฑิต พสวท. ครั้งยิ่งใหญ่ที่ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
ช่วงเดือน มีนาคม ๒๕๕๗
รศ. ดร.มงคล
รศ. ดร.จิรันดร
รศ. ดร.สุพล
รศ. ดร.ยงยุทธ
ผศ. ดร.พรรณิกา