Previous Page  36 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 36 / 62 Next Page
Page Background

36

นิตยสาร สสวท.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ศึกษาการสังเคราะห์สารยับยั้งเอนไซม์ไดไฮโดรโฟเลตรีดักเทสในกลุ่ม ๔,๖–ไดอะมิโน–l,๒–ไดไฮโดร–

l,๓,๕–ไตรอะซีน ในแง่ของความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์ไดไฮโดรโฟเลตรีดักเทส เพื่อนำ

�ไปพัฒนาเป็น

ยาต้านมาลาเรียที่มีประสิทธิภาพต่อเชื้อมาลาเรีย

Plasmodium falciparum

สายพันธุ์ดื้อยา โดยพบว่ายาที่พัฒนาได้มีประสิทธิภาพ

ทำ

�ลายเชื้อก่อโรคดีกว่ายาไซโคลกัวนิล ซึ่งเป็นยาต้นแบบ

๔. รศ. ดร.มัลลิกา เจริญสุธาสินี

ผู้สำ

�เร็จจาก พสวท. ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ปัจจุบันปฏิบัติงานที่สำ

�นักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย

วลัยลักษณ์ เป็นผู้ริเริ่ม โครงการเด็กหมวกเขียว ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพคนและสังคม โดยมีวัตถุประสงค์

หลัก เพื่อพัฒนาศักยภาพของนักเรียนในโรงเรียนให้ได้เรียนรู้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ ฝึกให้คิด

เป็น ทำ

�เป็น และใช้อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ได้ โดยเน้นการศึกษาทรัพยากรในท้องถิ่นเพื่อพัฒนาท้องถิ่นของ

ตนเอง นับเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาประเทศ โครงการนี้เป็นการทำ

�วิจัยร่วมกันระหว่างครู นักเรียนและ

นักวิทยาศาสตร์ เป็นงานวิจัยที่บูรณาการความรู้ทางด้านชีววิทยาพื้นฐานกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ทำ

�ให้เยาวชนมีความ

รู้ สามารถพึ่งพาตนเองได้ลดปัญหาอาชญากรรม เกิดเป็นชุมชนเข้มแข็ง รวมทั้งทำ

�ให้เยาวชนมีจิตสำ

�นึก รู้จักอนุรักษ์และ

ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพอย่างชาญฉลาด จากความสำ

�คัญของโครงการนี้ทำ

�ให้ รศ. ดร. มัลลิกา เจริญสุธาสินี ได้รับรางวัล

L’OREAL for Women in Science ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗

๕. รศ. ดร.พลังพล คงเสรี

ผู้สำ

�เร็จจาก พสวท. ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ปัจจุบันปฏิบัติงานที่ภาควิชาเคมี

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ศึกษาโครงสร้างสามมิติของไดไฮโดรโฟเลตรีดักเทสจาก

Plasmodium vivax

ด้วยเทคนิค protein X–ray crystallography พบว่าการกลายพันธุ์ของเชื้อ

ทำ

�ให้เอนไซม์จับกับตัวยารักษาโรคในกลุ่มยาแฟนซิดาร์ (Fansidar) ที่มีตัวยาไพรีเมตามีน (pyrimetha-

mine) ได้ลดลงดังประสิทธิภาพของยาจึงลดลงด้วย ผลจากการศึกษานี้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร

Proceedings of the National Academy of Sciences, USA ที่มีชื่อเสียงระดับโลก ทำ

�ให้การศึกษาวิจัย

ด้านมาลาเรีย และเคมีของไทยได้รับการยอมรับในนานาชาติ

๖. ดร.ฌีวาตรา (ชุติมา) ตาลชัย

ผู้สำ

�เร็จจาก พสวท. ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ปัจจุบันปฏิบัติงานที่คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย ได้ใช้องค์ความรู้เรื่อง Stem Cells and Differentiation ในการ (1) ค้นพบวิธีการรักษาใหม่ ร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา

Professor Domenico Accili สำ

�หรับ ผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 1 ซึ่งเซลล์ที่ผลิตอินซูลินในตับอ่อนถูกทำ

�ลายไปโดยระบบภูมิคุ้มกัน

บกพร่อง โดยใช้เซลล์ลำ

�ไส้ผลิตอินซูลินทดแทน และได้นำ

�เสนอทฤษฎีใหม่ ในการอธิบายการเกิดโรคเบาหวานประเภทที่ 2 ซึ่งหักล้าง

องค์ความรู้เดิม ที่เชื่อกันมากว่า ๓๐ ปี โดยทฤษฎีใหม่ เสนอแนวทางการรักษาแบบใหม่ ที่ถูกกับกลไกการเป็นโรคเบาหวานมากขึ้น

จากการศึกษาวิจัยเรื่องดังกล่าวทำ

�ให้ได้รับรางวัลนักวิจัยรุ่นเยาว์ดีเด่นจากสมาคมต่อมไร้ท่อแห่งสหรัฐอเมริกา

๗. ดร.รุ้งนภา ทองพูล

ผู้สำ

�เร็จจาก พสวท. ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ปัจจุบันปฏิบัติงานที่ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ สำ

�นักงาน

พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้พัฒนาถุงกระดาษซิปล็อกที่ทำ

�จากกระดาษทั่วไป แต่ใช้กาวที่ทำ

จากยางพาราซึ่งหาได้ง่ายในประเทศไทย ถือเป็นการใช้ของในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ ไม่มีสารพิษเจือปนจึงเป็น

มิตรต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ข้อดีของถุงกระดาษซิปล็อก คือ ไม่ทำ

�ให้เกิดไอน้ำ

�และป้องกันแมลงได้ดีกว่าถุง

กระดาษทั่วไป ผลงานวิจัยนี้ได้รับรางวัลเหรียญทองสาขา Agriculture–Horticulture–Gardening (เกษตรกรรม

การเพาะปลูกและการทำ

�สวน) จากงานแสดงสิ่งประดิษฐ์นานาชาติครั้งที่ ๓๔ (International Exhibition of

Inventions, New Techniques and Products ๒๐๐๖) ณ เมืองเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส

๘. ดร.ธนาวดี ลี้จากภัย

ผู้สำ

�เร็จจาก พสวท. ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ ปัจจุบันปฏิบัติงานที่ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุ

แห่งชาติ สวทช. ได้พัฒนาผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ โดยมีแนวคิดจากการสะสมของของเสียและขยะที่มีเพิ่มขึ้นโดยส่วนหนึ่งมาจาก

การใช้พลาสติกที่ย่อยสลายยากและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต อีกทั้งกระบวนการผลิตและกำ

�จัดพลาสติกล้วน

ก่อให้เกิดมลพิษ สภาวะโลกร้อนและปัญหาเรือนกระจก ดังนั้น ดร. ธนาวดี ลี้จากภัย จึงได้ค้นคว้าหาวัสดุเพื่อใช้แทนพลาสติกและมี

คุณสมบัติเหมือนพลาสติกแต่สามารถย่อยสลายได้ คือ การสังเคราะห์เม็ดพลาสติกชีวภาพจากแป้งมันสำ

�ปะหลัง พบว่าเม็ดพลาสติก

ดร.รุ้งนภา

รศ. ดร.มัลลิกา

รศ. ดร.พลังพล