

35
ปีที่ 41 ฉบับที่ 184 กันยายน - ตุลาคม 2556
๑๐) รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น จำ
�นวน ๖ คน ได้แก่
พ.ศ. ๒๕๔๗
๑) ดร.สรยุทธ รัตนพจนารถ
๒) รศ. ดร.อุดมศิลป์ ปิ่นสุข
๓) ดร.ผกามาศ แซ่หว่อง
๔) ดร.อิศรา เฟื่องฟูชาติ
๕) ดร.รุ้งนภา ทองพูล
๖) ศ. ดร.พิมพ์ใจ ใจเย็น
๑๑) รางวัลผลงานบริการเพื่อการศึกษาและสังคม จำ
�นวน ๓ คน ได้แก่
พ.ศ. ๒๕๔๗
๑) ดร.อรรถกฤติ ฉัตรภูต
๒) ผศ. ดร.บุญญฤทธิ์ อุยยานนวาระ
๓) ดร.พิเชษฐ กิจธารา และทีมงานบริหารเว็บไซต์
วิชาการดอทคอม
(Vcharkarn.com)(รางวัลเว็บไซต์ด้านส่งเสริมการศึกษาดีเด่น ๒ ปีซ้อน ของกระทรวงศึกษาธิการ)
๑๒) รางวัลเสนอผลงานวิจัยดีเยี่ยมแบบโปสเตอร์ ในการประชุมนักวิจัยรุ่นใหม่ พบเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
พ.ศ. ๒๕๕๒
ดร.คัมภีร์ พรหมพราย
๑๓) รางวัล Asian Core Program Lectureship Award จาก New Phase Asian Core Program On Cutting-Edge
Organic Chemistry in Asia ประเทศไต้หวัน
พ.ศ. ๒๕๕๖
ผศ. ดร.เทียนทอง ทองพันชั่ง
๑๔) รางวัลนักวิจัยรุ่นเยาว์ดีเด่นจากสมาคมต่อมไร้ท่อแห่งสหรัฐอเมริกา
พ.ศ. ๒๕๕๖
ดร.ฌีวาตรา (ชุติมา) ตาลชัย
ตัวอย่างผลงานที่ได้รับรางวัล
จากวัตถุประสงค์ของ พสวท. ที่มุ่งเน้นผลิตบุคลากรที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเป็นกำ
�ลังสำ
�คัญ
ในการพัฒนาประเทศพบว่า บุคลากรที่เป็นผลผลิตของ พสวท. เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ และมีการสร้างสรรค์ผลงานทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีที่มีคุณประโยชน์นานัปการให้เป็นที่ประจักษ์ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ดังจะเห็นได้จากนักวิจัยที่ได้รับรางวัลจาก
หน่วยงานต่าง ๆ รวมทั้งบัณฑิต พสวท. มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์อย่างต่อเนื่อง ซึ่งโครงการวิจัยที่ดำ
�เนินการโดยนักวิจัยที่เป็น
บัณฑิต พสวท. มีผลงานวิจัยที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ถึงปัจจุบัน ดังนี้
๑. ผศ. ดร.รัฐ พิชญางกูร
ผู้สำ
�เร็จจาก พสวท. ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ปัจจุบันปฏิบัติงานที่ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ได้พัฒนานวัตกรรมใหม่ซึ่งเป็นนวัตกรรมระดับประเทศด้านผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตสารโอลิโกแซคคาไรด์ หรือ
ที่เรียกว่า ผลิตภัณฑ์โอลิโกแซคคาไรด์ (ไคโตซานและอนุพันธ์) โดยนำ
�ไคโตซานที่ได้จากเปลือกปูหรือกุ้ง ผ่านกระบวนการย่อยด้วย
เอนไซม์ไคติเนส ทำ
�ให้ได้ผลิตภัณฑ์ โอลิโกแซคคาไรด์ที่เหมาะสำ
�หรับการนำ
�ไปใช้เป็นองค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ด้านเภสัชวิทยา เช่น
ใช้เป็นจุลยานขนส่งยาสู่เซลล์เป้าหมาย ยารักษาโรคข้อกระดูกเสื่อม วัสดุปิดแผล หรือผสมในผลิตภัณฑ์เครื่องสำ
�อางเพื่อบำ
�รุงผิวและ
ผมได้ นอกจากนี้ไคโตซานสามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพ ไม่เป็นพิษ และมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียบางชนิดได้ งาน
วิจัยนี้ได้รับรางวัลเมธีส่งเสริมนวัตกรรม ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙
๒. ดร.ประสาท กิตตะคุปต์
ผู้สำ
�เร็จจาก พสวท. ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ปัจจุบันปฏิบัติงานที่ภาควิชาเคมีห้องปฏิบัติการ
เภสัชศาสตร์ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ได้ค้นคว้ายารักษาโรคมาลาเรียโดยใช้สารสกัดจากสมุนไพรไทยซึ่งมีฤทธิ์ในการ
รักษาโรคมาลาเรีย วัณโรค และโรคมะเร็งได้ ส่งผลให้ลดการนำ
�เข้าเวชภัณฑ์จากต่างประเทศ และมีการจดสิทธิ
บัตรของยาดังกล่าวครอบคลุมสิทธิ์ในหลายประเทศ นับว่าเป็นการค้นพบที่มีประโยชน์ทางด้านสาธารณสุขต่อ
ประเทศไทยและภูมิภาคเอเชีย
๓. ศ. ดร.ธีรยุทธ วิไลวัลย์
ผู้สำ
�เร็จจาก พสวท. ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ปัจจุบันปฏิบัติงานที่ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
ดร.คัมภีร์
ดร.อิศรา
ดร.อรรถกฤติ
รศ. ดร.อุดมศิลป์
ดร.พิเชษฐ
ศ. ดร.ธีรยุทธ