Previous Page  41 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 41 / 62 Next Page
Page Background

กรอบประเมินการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ประกอบด้วยสี่องค์

ประกอบ ได้แก่ บริบท สมรรถนะ ความรู้และเจตคติ ซึ่งองค์

ประกอบเหล่านี้มีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ แบบทดสอบของ

PISA จะอยู่ในรูปแบบของสถานการณ์ที่หลากหลายในชีวิต

จริงและเกี่ยวข้องกับตัวเอง ท้องถิ่น ประเทศ หรือสถานการณ์

ของโลก นักเรียนต้องใช้สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ทุกด้าน

เพื่อแก้ปัญหา (ตอบค�

ำถาม) อย่างสมเหตุสมผล ซึ่งการแก้

ปัญหาจะท�

ำได้ดีเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับความรู้และเจตคติต่าง ๆ

ที่แต่ละคนมีอยู่

ในแบบทดสอบของ PISA จะประเมินสมรรถนะของ

นักเรียนว่าสามารถท�

ำสิ่งต่อไปนี้ได้ดีเพียงใด

1. การอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์

§

ดึงความรู้วิทยาศาสตร์มาใช้สร้างค�

ำอธิบายที่

สมเหตุสมผล

§

พยากรณ์การเปลี่ยนแปลงในเชิงวิทยาศาสตร์และ

ให้เหตุผลที่สมเหตุสมผล

§

อธิบายถึงศักยภาพของความรู้วิทยาศาสตร์ที่

สามารถน�

ำไปใช้เพื่อสังคม

2. การประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะ

หาความรู้ทางวิทยาศาสตร์

§

ระบุปัญหาที่ต้องการส�

ำรวจในการศึกษาทาง

วิทยาศาสตร์

§

บอกได้ว่าประเด็นปัญหาหรือค�

ำถามใดสามารถ

ตรวจสอบได้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์

§

บอกและประเมินวิธีส�

ำรวจตรวจสอบปัญหาทาง

วิทยาศาสตร์ได้

3. การแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานใน

เชิงวิทยาศาสตร์

§

วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลทางวิทยาศาสตร์

และลงข้อสรุป

§

ระบุข้อสันนิษฐาน ประจักษ์พยาน (หลักฐาน)

และเหตุผล ในเรื่องที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์

§

ประเมินข้อโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์และหลักฐาน

จากแหล่งที่มาที่หลากหลาย

ส�

ำหรับ PISA 2015 ลักษณะของข้อสอบวิทยาศาสตร์

ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการประเมินมีสองแบบ ดังนี้

1. ข้อสอบแบบทั่วไป

: นักเรียนต้องอ่านเนื้อเรื่องจาก

สถานการณ์และข้อมูลที่ให้มาแล้วตอบค�

ำถามด้วยการคลิก

เลือกตอบ พิมพ์ค�

ำตอบอย่างสั้น ๆ และพิมพ์อธิบายแบบยาว

ใช้เมาส์ลากและวางค�

ำตอบลงในต�

ำแหน่งที่ก�

ำหนด และคลิก

เลือกค�

ำตอบจากรายการที่ก�

ำหนดให้ ดังตัวอย่างข้อสอบ เช่น

เรื่องวิวัฒนาการ และเรื่องการสูบบุหรี่

ค�

ำถามที่ 1

เป็นข้อสอบที่ให้นักเรียนสร้างค�

ำตอบได้อย่าง

อิสระโดยพิมพ์ค�

ำตอบลงในช่องว่างและวัดความรู้เกี่ยวกับ

การได้มาของความรู้ (epistemic knowledge) นักเรียนจะ

ต้องสร้างความเข้าใจในความสัมพันธ์ของข้อมูลภาพฟอสซิล

โครงกระดูกทั้งสี่ และพิจารณาว่าข้อสรุปที่ได้สอดคล้องกับ

หลักฐานภาพฟอสซิลหรือไม่ จัดเป็นข้อสอบวัดสมรรถนะด้าน

การอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์

เพราะต้องน�

ความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีมาใช้สร้างค�

ำอธิบายที่สมเหตุสมผล

เกณฑ์การให้คะแนน

ได้คะแนนเต็ม

- ค�

ำตอบที่อ้างถึงการเปลี่ยนแปลง

ของโครงสร้างโครงกระดูกขา เช่น โครงกระดูกขาเหมือน

กันมากแต่มีการเปลี่ยนแปลงทีละน้อย หรือ กีบเท้าม้ามี

การเปลี่ยนแปลง

ได้คะแนนบางส่วน

- ค�

ำตอบที่อ้างถึงการเปลี่ยนแปลง

รูปร่างทั้งหมด เช่น พวกมันมีรูปร่างที่เหมือนกัน แล้วเริ่ม

มีรูปร่างที่ใหญ่ขึ้น

ปีที่ 42 ฉบับที่ 186 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2557

41