

ค�
ำถามที่ 3
เป็น
ข้อสอบแบบเลือกตอบ
โดยต้องคลิกเลือกหนึ่ง
ค�
ำตอบ ข้อสอบนี้วัด
ความรู้ด้านเนื้อหาและ
วัดสมรรถนะด้าน
การ
อธิบายปรากฏการณ์
ในเชิงวิทยาศาสตร์
เพราะนักเรียนต้องน�
ำ
ความรู้วิทยาศาสตร์ที่
มีมาใช้สร้างค�
ำอธิบาย
ที่สมเหตุสมผล
ค�
ำถามที่ 2
เป็น
ข้อสอบแบบเลือกตอบ
เชิงซ้อนโดยต้องคลิก
เลือกค�
ำตอบในแต่ละ
ข้อ ข้อสอบนี้วัดความ
รู้ด้านกระบวนการ
และวัดสมรรถนะ
ด้าน
การประเมินและ
ออกแบบกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์
เพราะ
นักเรียนต้องสามารถ
บอกและประเมินวิธี
ส�
ำรวจตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ได้ว่างานวิจัยใดท�
ำให้
ได้ค�
ำตอบเกี่ยวกับวิวัฒนาการของม้า
ได้คะแนน – ตอบถูกทั้งสองข้อ, ไม่ใช่ ใช่ ตามล�
ำดับ
ได้คะแนน – ตอบตัวเลือกที่ 3
ข้อสอบข้อนี้จัดอยู่ในบริบทของเนื้อหาด้านสุขภาพ
และโรคภัยโดยต้องคลิกเลือกหนึ่งค�
ำตอบ ซึ่งวัดความรู้ด้าน
กระบวนการ และวัดสมรรถนะด้าน
การแปลความหมาย
ข้อมูลและประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์
นักเรียนจะ
ต้องวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลทางวิทยาศาสตร์
แล้วจึงลงข้อสรุปที่อ่านได้จากกราฟ
2. ข้อสอบแบบมีปฏิสัมพันธ์
(interactive items) :
ข้อสอบประกอบด้วยภาพเคลื่อนไหวและสถานการณ์จ�
ำลอง
(simulation) นักเรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับข้อสอบ เมื่อ
นักเรียนอ่านเนื้อเรื่องในสถานการณ์และโจทย์แล้ว สามารถ
คลิกปุ่มและเลื่อนแถบเลื่อนต่าง ๆ ในสถานการณ์จ�
ำลอง เพื่อ
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่เกิดขึ้นแล้วจึงตอบค�
ำถาม
ตัวอย่างข้อสอบ เช่น เรื่องหม้อเซียร์
จากข้อสอบเรื่อง
“หม้อเซียร์”
นักเรียนจะได้ส�
ำรวจว่า
ปริมาณอาหารมากที่สุดกี่กิโลกรัม ที่สามารถเก็บให้คงความ
สดอยู่ได้ที่ 4
o
C ในการท�
ำข้อสอบ นักเรียนต้องอ่านข้อมูล
ที่ให้ในบทน�
ำเกี่ยวกับหม้อเซียร์ จากนั้นคลิกหน้าถัดไปเพื่อ
อ่านโจทย์ของค�
ำถามที่ 1 แล้วลองปรับเปลี่ยนแถบเลื่อนค่า
ความหนาของชั้นทรายและคลิกเลือกปุ่มความชื้นของทราย
(ชื้น/แห้ง) ในสถานการณ์จ�
ำลอง จนได้ข้อมูลปริมาณอาหาร
และอุณหภูมิของหม้อเซียร์ปรากฏในตาราง แล้วจึงพิจารณา
ค�
ำตอบอีกครั้งหนึ่ง
ได้คะแนน – ตอบตัวเลือกที่ 4
นิตยสาร สสวท.
42