

ปีที่ 42 ฉบับที่ 188 พฤษภาคม - มิถุนายน 2557
คณะที่ปรึกษา
ประธานกรรมการสสวท.
ผู้อำ
�นวยการสสวท.
บรรณาธิการบริหาร
ขจรเดช บุตรพรม
ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ
รองผู้อำ
�นวยการสสวท.
ผู้ช่วยผู้อำ
�นวยการสสวท.
หัวหน้ากองบรรณาธิการ
พงษ์เทพบุญศรีโรจน์
กองบรรณาธิการ
ดร.กุศลิน มุสิกุล
ดร.จารุวรรณ แสงทอง
ดร.ชัยวุฒิ เลิศวนสิริวรรณ
ณรงค์ แสงแก้ว
ดุสิต สังข์ร่วมใจ
ถนิม ทิพย์ผ่อง
ธันยากานต์ ยืนตระกูลชัย
นวรัตน์ อินทุวงศ์
เบ็ญจวรรณ ศรีเจริญ
ประกายกานต์ ตรีอาภรณ์
ดร.ประสงค์ เมธีพินิตกุล
ผู้ช่วยกองบรรณาธิการ
วนิดาคล่องอาสา
นิลุบลกองทอง
รัชนีกรมณีโชติรัตน์
สินีนาฎ ทาบึงกาฬ
ดวงมาลย์ บัวสังข์
สิริมดี นาคสังข์
สุประดิษฐ์ รุ่งศรี
เจ้าของ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
924ถนนสุขุมวิทแขวงพระโขนงเขตคลองเตยกทม.10110
โทร.0-2392-4021ต่อ3307
Call Center: 0-2335-5222
(ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท.
หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่าได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้าง
โดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย
จักเป็นพระคุณยิ่ง)
วัตถุประสงค์
1. เผยแพร่และส่งเสริมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีให้
แก่ครูและผู้สนใจทั่วไป
2. เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของ สสวท.
3. เสนอความก้าวหน้าของวิทยาการในด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยีที่จะสนับสนุนการศึกษาของชาติให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน
4. แลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นต่าง ๆ เกี่ยวกับความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีจากครูและผู้สนใจทั่วไป
ปาริฉัตร พวงมณี
ดร.พรชัย อินทร์ฉาย
พรพจน์ พุฒวันเพ็ญ
ดร.รชยา ศรีสุริฉัน
ราม ติวารี
ดร.วนิดา ธนประโยชน์ศักดิ์
ดร.โศจิวัจน์ เสริฐศรี
สมเกียรติ เพ็ญทอง
สุพจน์ วุฒิโสภณ
ดร.สุพรรณี ชาญประเสริฐ
อุปการ จีระพันธุ
เปิดเล่ม สสวท.
ของการตั้งค�
ำถามว่าส�
ำคัญกว่าค�
ำตอบ ผมจึงขออนุญาตเล่าเรื่องของ
นายด�
ำ น�้
ำหยด หรือ จรวย พงษ์ชีพ เกษตรกรตัวอย่าง ปี 2522 ผู้คิดค้น
ระบบ “น�้
ำหยด” ก่อนพัฒนาเป็นการให้น�้
ำระบบพ่นฝอย เมื่อประมาณ
30 กว่าปีก่อน ใครจะไปคิดว่าชาวสวนที่จบเพียงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
จะมีวิธีคิดเหมือนนักวิทยาศาสตร์ระดับโลกได้ จ�
ำเรื่องเซอร์ไอแซก นิวตัน
เห็นแอบเปิลตกจึงเกิดจินตนาการ คิดเรื่องแรงโน้มถ่วงได้หรือไม่
นายด�
ำ น�้
ำหยด ก็เช่นเดียวกัน เขาเห็นน�้
ำหยดผ่านต้นเงาะจากสายยาง
แล้วเงาะไม่ตาย ซ�้
ำยังให้ผลผลิตดี เขาตั้งค�
ำถามว่าท�
ำไมเงาะต้นนี้จึง
ไม่ตาย เมื่อสังเกตดี ๆ จึงพบว่าสายยางที่ลากผ่านเงาะต้นนี้มีรูรั่วเล็ก ๆ
และน�้
ำหยดลงดินตลอด เขาจึงคิดทดลองใช้เข็มให้น�้
ำเกลือท�
ำระบบน�้
ำ
หยดขึ้น และต่อมาพัฒนาเป็นระบบการให้น�้
ำตามท่อ และมีระบบพ่นย่อย
แบบสปริงเกอร์ มีทั้งเหวี่ยงน�้
ำรอบทิศ พ่นน�้
ำเป็นจุด ๆ ทั้งหมดพัฒนา
ขึ้นมาตามความต้องการของต้นไม้และประสบความส�
ำเร็จในทางเกษตรกรรม
เป็นอย่างยิ่งจากสิ่งประดิษฐ์ชนิดนี้
ค�
ำถาม และปัญหา เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ส�
ำหรับการเรียนรู้ ค�
ำถามและ
ปัญหาที่ดีจะเป็นเครื่องช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดอย่าง
เป็นระบบและสามารถสร้างขั้นตอน วิธีในการแก้ปัญหาหรือหาค�
ำตอบได้
อย่างมีเหตุผล คุณครูส่วนใหญ่นิยมใช้ค�
ำถามประกอบการอธิบายเนื้อหากันมา
ช้านาน แต่บ่อยครั้งค�
ำถามที่ถามนั้นก็ไม่สามารถน�
ำพาผู้เรียนให้เกิด
ความคิดรวบยอดได้เป็นค�
ำถามที่ต้องการเพียงแต่ค�
ำตอบแบบที่ครูคิดถามเสร็จ
ครูก็ไม่เว้นวรรครอฟังค�
ำตอบจากนักเรียน หนักเข้ากลายเป็นถามเองตอบเอง
อยู่คนเดียว นิตยสาร สสวท. ฉบับนี้ จึงมีเรื่องเกี่ยวกับการใช้ค�
ำถามให้มีประสิทธิภาพ
มาเสนอแนะ และยังควบด้วย “Active Learning : การจัดการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21” และพลาดไม่ได้กับ “ประโยชน์ของการใช้ Facebook
กับการเปิดโลกทัศน์ใหม่ทางสถิติ” ทั้งเล่มอัดแน่นด้วยสาระและความบันเทิง
โปรดพลิกหน้าต่อไปตามใจที่ปรารถนา...แล้วเจอกันเล่มต่อไปครับ
ขจรเดช บุตรพรม
บรรณาธิการบริหาร
ปีที่ 42 ฉบับที่ 188 พฤษภาคม - ิถุนายน 2557
1
“ค�
ำถาม ส�
ำคัญกว่า ค�
ำตอบ” ค�
ำกล่าวนี้ถือเป็นคุณสมบัติข้อหนึ่งของผู้ที่มี
ความคิดสร้างสรรค์ที่มักมาพร้อมกับการสังเกตและจดจ�
ำ เพื่อเป็นการยืนยันในเรื่อง