Previous Page  5 / 62 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 5 / 62 Next Page
Page Background

5

ปีที่ 42 ฉบับที่ 188 พฤษภาคม - มิถุนายน 2557

1. ทักษะการฟัง ต้องเป็นการฟังอย่างมีประสิทธิภาพ

2. ทักษะการอ่ าน การดู การมอง และการสังเกต

ต้องเป็นการอ่าน ดู มองและสังเกต อย่างมีเป้าหมาย

3 ทักษะการพูด ต้องเป็นการพูดอย่างมีความความหมาย

4. ทักษะการเขียน ต้องเป็นการเขียนอย่างมีความเข้าใจ

5. ทักษะการท�

ำงานแบบร่วมมือ ต้องเป็นการท�

ำงานที่มี

ความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตน

การเลือกใช้กิจกรรมรูปแบบใดนั้นขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของ

การจัดกิจกรรม จ�

ำนวนผู้เรียน ระยะเวลาในการท�

ำกิจกรรม

ขนาดของห้องเรียน พื้นที่ในการท�

ำกิจกรรม รวมทั้งทักษะความ

สามารถในการด�

ำเนินกิจกรรมของผู้สอน ส�

ำหรับแนวทางการวัด

และประเมินผลควรเป็น Authentic assessment และ Alter-

native assessment แต่สิ่งที่ผู้สอนควรค�

ำนึงถึงคือการจัด

กิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะนี้จะใช้เวลามากขึ้น ดังนั้นควรมี

การบริหารจัดการเวลาในชั้นเรียนให้คุ้มค่ามากที่สุด ผู้สอนต้อง

ให้ความส�

ำคัญกับการวางแผนและการเตรียมความพร้อมของ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งนี้ควรให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมด้วย

การจัดการเรียนรู้ประสบความส�

ำเร็จได้ทั้งด้วยการจัดการ

เรียนรู้ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน การจัดการเรียนรู้นั้นเกิดจาก

การลงมือปฏิบัติของนักเรียนทั้งเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม และ

สุดท้ายการจัดการเรียนรู้ส�

ำเร็จได้อาจมีการใช้หรือไม่ ใช้

แต่การจัดการเรียนรู้จะประสบความส�

ำเร็จมากหรือน้อยนั้น

ขึ้นอยู่กับความรับผิดชอบของทั้งผู้สอนและผู้เรียนในบทบาท

ที่ต่ างกัน โดยเฉพาะอย่ างยิ่งนักเรียนค่ อนข้ างมีอิสระ

ในการเรียนรู้ ดังนั้นในล�

ำดับแรกผู้สอนต้องฝึกให้นักเรียนแต่ละ

คนมีความรับผิดชอบต่อการฝึกฝนตนเองเพื่อให้มีทักษะพื้นฐาน

ที่จ�

ำ เป็ นต่ อการเรียนรู้ อย่ างมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้ แก่

ความส�

ำคัญของ Active Learning

1. ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการคิดที่เป็นอิสระ โดยเฉพาะ

อย่างยิ่งการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและคิดสร้างสรรค์

เนื่องจากผู้เรียนมีโอกาสในการฝึกปฏิบัติและพัฒนาทักษะ

การคิดขั้นสูงมากขึ้น ผู้สอนจะเป็นผู้อ�

ำนวยความสะดวกให้เกิด

ทักษะเหล่านี้ผ่านการกระตุ้นด้วยการใช้ค�

ำถาม เพื่อให้ผู้เรียนเกิด

การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือการประยุกต์ความรู้ไปใช้

แก้ปัญหาในโลกความเป็นจริง คั่นระหว่างการบรรยายหรือ

การมอบหมายงานเป็นรายบุคคล งานกลุ่มย่อย หรืองาน

ที่มอบหมายให้ท�

ำร่วมกันทั้งชั้นเรียน เช่น การมอบหมายให้

แก้ปัญหาจากสถานการณ์หรือกรณีศึกษา นอกจากนี้การฝึกให้

ผู้เรียนได้อภิปราย โต้แย้งก็เป็นอีกเทคนิคหนึ่งที่ช่วยพัฒนาการ

คิดขั้นสูงและทักษะการให้เหตุผลอย่างมีตรรกะ ซึ่งครูท�

ำได้โดย

การมอบหมายให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นหรือทัศนคติได้หลาย

รูปแบบอาจจะเป็นการเขียนโดยใช้เวลาสั้น ๆ 5 - 10 นาที

หรือเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นด้วยการจัดโต้วาทีระหว่างกลุ่มย่อย

หรือแสดงทัศนคติร่วมกันทั้งชั้นเรียน ซึ่งครูสามารถเลือกใช้ได้

มากกว่า 1 เทคนิค

2. ส่ งเสริมให้ เกิดการท�

ำงานแบบร่ วมมืออย่ างมี

ประสิทธิภาพ

การจัดการเรียนรู้ที่ฝึกให้ผู้เรียนได้ท�

ำงานร่วมกัน

โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าผู้เรียนผ่านการฝึกปฏิบัติอย่างสม�่

ำเสมอ

และด้วยวิธีการที่ถูกต้อง จะช่วยให้เกิดทักษะการท�

ำงานแบบ

ร่วมมืออย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้

เวลาช่วงสั้น ๆ ในการพูดคุย คิด และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

กิจกรรมที่ท�

ำให้เกิดการท�

ำงานแบบร่วมมือ เช่น กิจกรรมที่มี

การอภิปรายหรือลงมือปฏิบัติแบบกลุ่มย่อยหรือกิจกรรมที่ให้

ผู้เรียนจับคู่ร่วมกันคิดค�

ำตอบหรือแก้ปัญหาในเวลาสั้น ๆ 1 – 5

นาทีถ้าการบรรยายได้ใช้เทคนิคนี้ร่วมด้วยจะช่วยเพิ่มความจ�

ความเข้าใจ เพิ่มทักษะการสื่อสาร การสร้างความตระหนักและ

เห็นคุณค่ าของเพื่อนร่ วมงาน แต่ เทคนิคนี้จะช่ วยเพิ่ม

ประสิทธิภาพการเรียนรู้มากขึ้นก็ต่อเมื่อมีการเฉลยค�

ำตอบ ร่วม

การวิเคราะห์ แสดงเหตุผลสนับสนุนค�

ำตอบที่ถูกต้องและให้

เหตุผลด้วยว่าเพราะเหตุใดค�

ำตอบหรือการแก้ปัญหาอื่นจึงไม่ถูกต้อง